SERMASCH LTD. Course code : MN:CK002

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
Photochemistry.
Ground State & Excited State
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
บทที่ 5 ระบบการป้องกันไฟไหม้และระเบิด
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
Training Document Course name : RCFA Course code : MN:CK002
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
Measurement of Gases KM 57.
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
วงจรสี.
Atomic Emission Spectroscopy (AE, AES)
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
Atomic Spectroscopy.
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
ภาควิชา วิศวกรรมโลหการ
บทที่ 1 อัตราส่วน.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
( wavelength division mux)
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
Image Processing & Computer Vision
บทที่ 10 การวิเคราะห์ธาตุส่วนผสมทางเคมี Chemical composition analysis
Liquid Crystal Display (LCD)
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
บทที่ 1 Introduction.
การฝึกอบรมการใช้เครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
ความหมายและชนิดของคลื่น
การบริหารจัดการอัตรากำลัง
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ครีมกันแดด (Sunscreen).
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
Magnetic Particle Testing
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
แบบจำลองอะตอมของ Bohr
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
ความหมายของวิทยาศาสตร์
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
กล้องโทรทรรศน์.
การระเบิด Explosions.
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
การหักเหของแสง (Refraction)
Module 3 สี และ การวัดค่าสี
ดาวพลูโต (Pluto).
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SERMASCH LTD. Course code : MN:CK002 Training Document Course name : Chemical composition analysis analysis and Metallogr Metallograph& Metallographic Examination Course code : MN:CK002 Instructor : Mr. Kreangsak Traikomoot Picture of Instructor Division : Maintenance kreangsak@ube.co.th RCFA Training Block 3: Mat. testing & Inspection (DT) Chemical analysis

1.> สร้างความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ส่วนประกอบตรวจสอบ Chemical composition analysis & Metallographic Course code : MN:CK002 Duration : 0.5 days Objective : 1.> สร้างความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ส่วนประกอบตรวจสอบ ทางเคมี และ คุณภาพของโลหะทางจุลภาค 2.> สร้างแนวคิดในการทดสอบวัสดุที่เสียหาย

การวิเคราะห์ธาตุส่วนผสมทางเคมี Chemical composition analysis SERMASCH LTD. การวิเคราะห์ธาตุส่วนผสมทางเคมี Chemical composition analysis RCFA Training Block 3: Mat. testing & Inspection (DT) Chemical analysis

วิธีการวิเคราะห์ XRF (X-ray fluorescence) OES (Optical emission spectrometer) XRD (X-ray diffraction) EDS/EDX (Energy dispersive spectrometer/ Energy dispersive X-ray analysis)

1. XRF (X-ray fluorescence) XRF analysis เป็นเทคนิคที่สามารถวิเคราะห์ชนิดของธาตุ (Qualitative) และปริมาณธาตุ (Quantitative) สามารถวิเคราะห์ได้ทั้งของแข็งและของเหลว เป็นการทดสอบแบบไม่ทำลาย ใช้เวลาวิเคราะห์แต่ละครั้งประมาณ 15 นาที กรณีของแข็ง: - สามารถวิเคราะห์ได้โดยไม่ต้องมีการเตรียมผิวมาก่อนก็ได้ - ชิ้นงานต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10-50 mm และสูงไม่เกิน 50 mm ผิวหน้าชิ้นงานของแข็งต้องเรียบ และผ่านการขัดเงา กรณีของเหลว: สามารถวิเคราะห์ธาตุที่มีความเข้นข้นน้อยๆประมาณ 5-500 ppm ได้

ข้อจำกัดคือ ไม่สามารถวิเคราะห์ธาตุที่มี atomic number น้อยกว่า 11 ได้ (H, He, Li, Be, B, C, N, O, F, Ne and Na) ตัวอย่างการวิเคราะห์ XRF การวิเคราะห์เปอร์เซนต์ของธาตุผสมในโลหะผสม เซรามิกส์ แก้ว เป็นต้น การวิเคราะห์ชนิดของธาตุซึ่งไม่สามารถวิเคราะห์ได้โดยวิธีอื่น

หลักการวิเคราะห์ X-ray fluorescence (XRF) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวัสดุได้รับการกระตุ้นจาก X-rays ที่มีพลังงานสูงมากพอที่จะกระตุ้นให้ a core electron (ชั้น K) หลุดออกมาจากวงโคจรได้ ก็จะทำให้อิเลคตรอนจากชั้นวงนอกเข้ามาเติมช่องว่าง โดยอิเลคตรอนจะมีการปล่อยพลังงานส่วนหนึ่งออกมาในรูปของ secondary X-ray จำนวนพลังงานที่สามารถกระตุ้น core electron ให้หลุดออกมา (Primary x-ray) และ จำนวนพลังงานที่ปล่อยออกมา (Emitted secondary x-ray) จะเป็นค่าคงที่ของแต่ละอะตอม Primary x-ray beam Ejected core electron M L K Electron from outer shell fills the hole Secondary x-ray beam

X-ray detector X-ray source Specimen 1 2 X-ray filter Secondary x-ray beam Intensity 3 Primary x-ray beam X-ray detector X-ray source Energy (wavelength) ยิง x-ray ที่มีพลังงานเพียงพอไปกระตุ้นชิ้นงานโดยตรง Secondary x-ray ถูกปล่อยออกมาจากชิ้นงานไปสู่ x-ray detector X-ray detector จะวัด ค่า energy wavelength ของ K และ K เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน

2. Optical Emission Spectrometer เป็นการหาชนิด และปริมาณของธาตุได้ทั้งโลหะและอโลหะ โดยใช้หลักการการกำเนิด X-ray โดยที่จะเป็นการวิเคราะห์พลังงานของ X-ray ที่ได้จากผิวชิ้นงาน สามารถวิเคราะห์ 30 ธาตุได้ในเวลา 1-2 นาที

การเปลี่ยนแปลงพลังงานของอะตอม (Atomic Phenomenon) Emission of atom 1.Ground state 2.Excitation 3.Emission Supplied Energy +E e- e- คายพลังงานออกมาในรูปของแสงมีความยาวคลื่น Initial Energy, E1 Energy, E2 Emitting a Photon (E2-E1) การเปลี่ยนแปลงพลังงานของอะตอม (Atomic Phenomenon)

แผนผังการทำงานของ Spectrometer แสงที่แยกความยาวคลื่น Detector Computer software แสงมีความยาวคลื่น Work Table Sample Discharge Spectrometer Light Emission e- Chamber (with argon flow) Electrode

เมื่ออิเลคโตรดได้รับพลังงานไฟฟ้าจะให้กำเนิดลำอิเลคตรอน ด้วยกำลังประมาณ 800-100 V และตกกระทบผิวชิ้นงาน ผ่านบรรยากาศของแก๊สอาร์กอน อิเลคตรอนในอะตอมของชิ้นงานที่มีระดับพลังงานต่ำสุด (เรียกว่า ground state ) จะถูกกระตุ้นให้มีระดับพลังงานสูงขึ้น (เรียกว่า Excited state) อะตอมที่อยู่ในสภาวะนี้จะไม่เสถียร จึงพยายามลดพลังงานลงมา จึงปลดปล่อยพลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของแสง (Light Emission) หรือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มีความยาวคลื่นเฉพาะตัว

แสงที่เกิดขึ้นจะถูกส่งผ่านไปยังระบบแยกความยาวคลื่นแสง ซึ่งเรียกว่า Spectrometer ซึ่งมีลักษณะเป็นเลนส์นูน และปริซึมสามเหลี่ยม (ผลึกของ silicon or Lithium) เพื่อให้เกิดการหักเหของแสง เป็น Spectrum จากนั้นแสงที่ถูกแยกความยาวคลื่นแล้วจะถูกส่งไปยัง Detector เพื่อเปลี่ยนความเข้มแสงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า และระบบวิเคราะห์สัญญาณไฟฟ้าให้เป็นความเข้มข้นของธาตุ โดยเปรียบเทียบกับสัญญาณของมาตรฐานที่เราทราบความเข้มข้นที่ได้ทำการวิเคราะห์ และบันทึกไว้ก่อนหน้านี้

Emission Spectroscopy เป็นเทคนิคที่มีการใช้อย่างกว้างขวาง ในการ วิเคราะห์ธาตุต่าง ๆ ทั้งในเชิง คุณภาพและเชิงปริมาณ เนื่องจาก เทคนิคนี้สามารถวิเคราะห์ธาตุได้ทั้ง โลหะและอโลหะ โดยใช้เวลาในการ วิเคราะห์ไม่มาก และทำได้โดยง่าย

X-ray Diffraction (XRD)

X-ray Diffraction (XRD) เป็นเทคนิคที่สามารถวิเคราะห์ชนิดของธาตุ, โครงสร้างผลึก แต่ไม่สามารถทราบปริมาณได้เหมือน XRF (X-ray fluorescence) หลักการ ผิววัสดุถูกยิงด้วยรังสี X-ray และเกิดการหักเหและความเข้มข้นของพลังงาน X-ray ขึ้นโดยมีตัว Detector เป็นตัวรับสัญญาณ

XRD Pattern

EDS/EDX เป็นเทคนิคที่สามารถวิเคราะห์ชนิดของธาตุ (Qualitative), ปริมาณธาตุ (Quantitative) และแสดงตำแหน่งของธาตุได้ หลักการ ผิวชิ้นงานที่นำไฟฟ้าได้ถูกยิงด้วยรังสี Primary Electron beam ทำให้ ชิ้นงานแตกรังสี X-ray ออกมา X-Ray ให้ข้อมูลลักษณะบอกเป็นธาตุที่ประกอบอยู่ในวัตถุนั้น โดยแสดงออกมาเป็นกราฟหรือพื้นที่ภาพที่แทนด้วยสีเพื่อบอกตำแหน่งที่อยู่ของธาตุนั้นๆ มักใช้วิธีนี้ร่วมกับ SEM

Inside Tank Outside Tank

Line Scanning Technique

Mapping Technique Ti/Zr pre-treatment on 6XXX aluminium alloy.Energy dispersive X-ray mapping shows the distribution of Ti and Zr in the conversion coating oxide layer over intermetallic particles.

สรุป

Q & A