ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

คู่มือสุขภาพ “จุงหนานห่าย”
หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
โครงการนำเสนออย่างไรให้จูงใจสถานประกอบการ
การออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ 25/03/55.
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
Global Recommendation for Physical Activity
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การทดสอบก่อนการออกกำลังกาย (EXERCISE TESTING)
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (EXERCISE FOR THE ELDERLY)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
การออกกำลัง ป้องกันและลดพุง
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
การดูแลสุขภาพเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ
การออกกำลังกายในคนอ้วน
การคำนวณพลังงาน.
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกำลังกายในสถานประกอบการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
AEROBIC DANCE แอโรบิกดานซ์ ? ผศ.สุกัญญา พานิชเจริญนาม.
การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย นนอ. ๑. ตรวจสอบ นนอ. ไม่ผ่านสถานีใด ๒
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคติดต่อ นำเสนอโดย คุณครูบุปผา ศิลปะ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
9 วิธีแก้โรคนอนไม่หลับ นางสาว ศิรินภา เบิกบาน เอก อนามัยสิ่งแวดล้อม
โดย จักรวัฒน์ เครือคำอ้าย
วิธีง่าย ๆ ต่อสู้กับมะเร็ง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
ความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกาย
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
พลศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 6 หลักการเคลื่อนไหวร่างกาย
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
โรคเบาหวาน ภ.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
Rehabilitation In COPD
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
การฝึกด้วยน้ำหนักสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชน
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
วิธีการลดน้ำหนัก ด.ช.พีรณัฐ บุญชื่น ม.3/3 เลขที่ 20 เสนอ
การบริหารการหายใจ เพื่อการคลายเครียด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดแสมดำ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายทำได้อย่างไร การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายทำได้โดย การฝึกสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย คือ ความสามารถของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

สมรรถภาพางกายมีกี่กลุ่ม (กี่ลักษณะ) สมรรถภาพทางกายสามารถจัดออกเป็น สองกลุ่ม (ลักษณะ) ดังนี้ สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ หรือสุขสมรรถนะ สมรรถภาพทางกลไก หรือสมรรถภาพเชิงปฏิบัติ

หลักสำคัญของการฝึกสมรรถภาพทางกาย หลักสำคัญของการฝึกสมรรถภาพทางกาย คือ หลักของการเพิ่มงานมากกว่าปกติ หมายถึง การออกแรงทำงานหรือออกกำลังกายให้มากกว่ายามปกติ และมากขึ้นเรื่อย แต่ร่างกายต้องรับได้ โดยอาจเพิ่มทั้งน้ำหนักของงาน( การออกแรง ) และเพิ่มระยะเวลาหรือเพิ่มจำนวน ชุด ของการฝึกปฏิบัติ

FITT คือ อะไร FITT คือ หลักการออกกำลังกายเพื่อให้หัวใจแข็งแรง มีรายละเอียดดังนี้

F = Frequency ความบ่อยในการออกกำลังกาย การออกกำลังกายที่สามารถรักษาหรือเพิ่มสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพได้ ต้องปฏิบัติอย่างน้อย 3 – 5 ครั้ง ต่อสัปดาห์

I = Intensity ความหนักหรือความเหนื่อยในการออกกำลังกาย การออกกำลังกายที่สามารถรักษาหรือเพิ่มสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพได้ต้องควบคุมความหนักหรือความเหนื่อย ให้อยู่ในช่วง 58 – 85 % ของอัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจ อัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจหาได้จาก 220 - อายุ(ปี) = จำนวนครั้ง/นาที ( 100 % )

T =Time ความนานในการออกกำลังกาย การออกกำลังกายที่สามารถรักษาหรือเพิ่มสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพได้ต้องออกกำลังกายนาน ติดต่อกันอย่างน้อย 15 - 30 นาที

T = Type ชนิดหรือประเภทของกิจกรรมการออกกำลังกาย กิจกรรมการออกกำลังกายที่ช่วยสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย และหัวใจต้องเป็นกิจกรรมที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ออกแรงเช่น วิง เดิน ปั่นจักรยาน กระโดดเชือก ว่ายน้ำ เป็นต้น

การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายทำได้โดย ยึดหลักของ FITT สรุป F = ความบ่อยในการออกกำลังกาย ควร ออกกำลังกาย 3-5 ครั้ง/ สัปดาห์ I = ให้ความหนักหรือเหนื่อยอยู่ในช่วง 55 – 85 % ของอัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจ T = ควรออกกำลังกายอย่าวงน้อยนานประมาณ 15 -30 นาที/ครั้ง T = เลือกชนิดและประเภทของกิจกรรมที่เหมาะสม

สวัสดี

แบบฝึกหัด ให้นักเรียนออกแบบวิธีการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ของนักเรียนว่าจะออกกำลังกายอย่างไร โดยใช้หลักของ FITT