ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Advertisements

Arrays.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
Principles of Programming
Principles of Programming
Data Type part.II.
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Array.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
อาเรย์ (Array).
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
ตัวแปรชุด.
Arrays.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 6: Function.
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
SCC : Suthida Chaichomchuen
1 RECORD TYPE ข้อมูลชนิดเรคอร์ด SCC : Suthida Chaichomchuen
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรในภาษา JavaScript
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
เสรี ชิโนดม Array in PHP เสรี ชิโนดม
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
Computer Programming for Engineers
ตัวแปรชุด Arrays.
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
อาร์เรย์ (Arrays).
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
บทที่ 6 โครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 5 Function. Function Function เป็นการแบ่งโค้ดโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อทำงานบางอย่าง - โค้ดโปรแกรมเรียงต่อกันยาว - สามารถเรียกใช้ Function ซ้ำได้
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5) ใช้สำหรับ Turbo C++ Version 3.0

กล่าวนำ ประเภทข้อมูลในบทที่ผ่านมาเป็นข้อมูลแบบข้อมูลเดี่ยว ตัวแปรหนึ่งตัวจะเก็บข้อมูลได้ค่าเดียวเท่านั้น ต้องการเก็บข้อมูลหลายค่าต้องสร้างตัวแปรหลายตัว ตัวแปรชนิดอาร์เรย์ (Array) เป็นตัวแปรที่เก็บข้อมูลเป็นกลุ่ม แต่จะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกันเท่านั้น

อาร์เรย์ในภาษาซี อาร์เรย์ประกอบด้วยข้อมูลหลายๆ ตัวรวมเป็นกลุ่ม ข้อมูลแต่ล่ะตัวในกลุ่มเรียกว่า อิลีเมนต์ (element) หรือเซลล์ (Cell) การอ้างถึงข้อมูลแต่ล่ะเซลล์จะใช้อินเด็กซ์ (Index) เป็นตัวชี้

ตัวแปรอาร์เรย์แบบต่างๆ

ตัวอย่างเช่น ถ้ามีข้อมูลคะแนนของนักศึกษา 8 คน สามารถเก็บได้ดังนี้ Index X[0] X[1] X[2] X[3] X[4] X[5] X[6] X[7] คะแนน 18 20 35 84 21 45 65 74 ข้อมูลอยู่ในอาร์เรย์ชื่อ X แต่ล่ะเซลล์จะเก็บเลขจำนวนเต็ม การกำหนดค่าอินเด็กซ์ อยู่ในเครื่องหมาย square brackets ([]) ตัวอย่างเช่น X[3] หมายถึงการติดต่ออาร์เรย์ X เซลล์ที่ 3 X[2] อ้างเซลล์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 35 X[2] + X[3] อ้างเซลล์ที่ 2 บวกกับเซลล์ที่ 3 จะได้ 35+84 เท่ากับ 119 Next page ->

การใช้ตัวแปรอาร์เรย์ในรูปแบบอื่น X[1+3] อ้างเซลล์ที่ 4 มีค่าเท่ากับ 21 X[5]+1 นำเซลล์ที่ 5 มาบวกด้วย 1 จะได้เท่ากับ 46 ในรูปแบบอื่น X[5] = 45; ใส่ค่า 45 ในตัวแปรอาร์เรย์ X เซลล์ที่ 5 printf(“%d\n”,X[6]); พิมพ์ค่าในตัวแปรอาร์เรย์ X เซลล์ที่ 6

วิธีการประกาศตัวแปรอาร์เรย์แบบ 1 มิติ จะต้องมีการกำหนดจำนวนของข้อมูลในเครื่องหมาย [ ] มีรูปแบบดังนี้ type var_name[size] หรือ ประเภทข้อมูล ชื่อตัวแปร[จำนวนสมาชิก] ตัวอย่างเช่น int myarray[20]; คำอธิบาย จะได้ตัวแปรชื่อ myarray ที่มีเซลล์เก็บข้อมูลจำนวนเต็มจำนวน 20 เซลล์

การใช้งานตัวแปรอาร์เรย์ ตำแหน่งอ้างข้อมูลจะเริ่มต้นที่ [0] ดังนั้น int myarray[20]; จะมีการอ้างตำแหน่งข้อมูลได้เป็น myarray[0] – myarray[19] การประกาศแบบข้างต้น เป็นการประกาศตัวแปรอาร์เรย์แบบหนึ่งมิติ ส่วนการสร้างอาร์เรย์แบบหลายมิติจากกล่าวภายหลัง

การประกาศตัวแปรอาร์เรย์แบบ 2 มิติ

การประกาศและกำหนดข้อมูลให้กับตัวแปรแบบอาร์เรย์

การเข้าถึงข้อมูลในตัวแปรอาร์เรย์

ตัวแปรอาร์เรย์กับข้อความ

ตัวอย่างการใช้งานตัวแปรอาร์เรย์

ตัวอย่างการใช้งานตัวแปรอาร์เรย์

ตัวอย่างการใช้งานตัวแปรอาร์เรย์

ตัวอย่างการส่งผ่านตัวแปรอาร์เรย์เข้าในฟังก์ชัน

ตัวอย่างการส่งผ่านตัวแปรอาร์เรย์สองมิติเข้าในฟังก์ชัน

Q & A End Chapter 7