Lecture 8.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
ค่าของทุน The Cost of Capital
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin Theory(1) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงาน
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
แนวคิดการประเมินประสิทธิภาพ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การสร้างแบบเสื้อและแขน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ต้นทุนการผลิต.
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lecture 8

ประเภทของปัจจัยการผลิต ปัจจัยคงที่(fixed factor) ปริมาณการใช้ไม่ได้แปรผันตามปริมาณผลผลิต ปัจจัยแปรผัน(variable factor) ปริมาณการใช้แปรผันตามปริมาณผลผลิต ช่วงเวลาการผลิต ระยะสั้น(short run): เปลี่ยนปริมาณปัจจัยคงที่ไม่ได้ ระยะยาว(long run) : เปลี่ยนปริมาณปัจจัยคงที่ได้

สมการการผลิต(production function) สมการทางคณิตศาสตร์ที่แสดงปริมาณผลผลิตสูงสุดของสินค้าชนิดหนึ่ง ที่ สามารถผลิตได้จากปัจจัยการผลิตที่กำหนดจากเทคโนโลยี ตัวอย่างของสมการการผลิต Q = AKaLb ---Cobb-Douglas การผลิต Y (หน่วย) วิธีผลิต 1 วิธีผลิต 2 วิธีผลิต3 L 1 2 4 K 3 Y

ความเข้มในการผลิต(factor intensity) สัดส่วน K ต่อ L เป็นตัวชี้วัดความเข้มในการใช้ปัจจัยการผลิต วิธีผลิต 1 จะเป็นวิธีผลิตที่มีความเข้มในปัจจัยทุน(capital intensive) เปรียบเทียบกับวิธีผลิต 2 และวิธีผลิต 3 วิธีผลิต 2 เป็นวิธีผลิตที่มีความเข้มในปัจจัยทุน เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีผลิต 3 ที่มีความเข้มในแรงงานเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีผลิต 1

ผลตอบแทนการผลิต อัตราคงที่(constant returns to scale) ผลผลิตเพิ่มขึ้นในสัดส่วนเดียวกับปริมาณปัจจัยการผลิต ผลตอบแทนที่มีอัตราเพิ่มขึ้น(increasing returns to scale) ผลผลิตเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าการเพิ่มของปัจจัยการผลิต ผลตอบแทนที่มีอัตราลดลง(decreasing returns to scale) ผลผลิตเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำกว่าการเพิ่มของปัจจัยการผลิต

เส้นผลผลิตเท่ากัน(isoquant) ตัวอย่าง:ทางเลือกในการผลิต Y ในปริมาณ 10 หน่วย

อัตราการทดแทนส่วนเพิ่มทางเทคนิค(marginal rate of technical substitution) ปริมาณ K ที่สามารถทดแทนได้ด้วย L 1 หน่วย ความลาดชันของเส้นผลผลิตเท่ากัน MRTS ลดลงเมื่อมีการใช้ L ทดแทน K การทดแทน K ด้วย L ไปเรื่อยๆทำให้ความสามารถในการทำงานของ L ลดลง mrts จึงลดลง เด็ก 5 คนกับพลั่ว 5 ตัว ขุดทรายได้รวมกัน 10 กิโลกรัม การลดจำนวนพลั่วแต่เพิ่มจำนวนเด็กทำให้เด็กบางคนต้องขุดทรายด้วยมือ เขาจึงขุดทรายได้น้อยลง ในที่สุดต้องเพิ่มเด็กในจำนวนที่เพิ่มขึ้น เมื่อลดพลั่วลง 1 ตัว เพราะมีคนใช้ มือเพิ่มขึ้น

ความต่อเนื่องของเส้นผลผลิตเท่ากัน

การผลิตในระยะสั้น วิธีผลิต K L Y APL APK MPL ไม่ผลิต 30 - 1 10 20 2   ไม่ผลิต 30 - 1 10 20 2 0.67 0.5 3 120 60 0.3 ? 15 APL = ผลผลิตเฉลี่ยของ L MPL = ผลผลิตส่วนเพิ่มของ L APK = ผลผลิตเฉลี่ยของ K

การเลือกวิธีผลิตเพื่อใช้ L 15 หน่วย วิธี 1 K1/L1 = 3 วิธี 2 K2/L2 = 1 ข้อจำกัดของ K K1+K2=30 ข้อจำกัดของ L L1+L2 = 15 K1 = 22.5 L1 = 7.5 K2 = 7.5 L2 = 7.5

เส้นผลผลิตรวม ทำไมไม่ใช้วิธี 1 และวิธี 3?

เส้นผลผลิตรวมเมื่อการผลิตมีความต่อเนื่อง

ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ย และผลผลิตส่วนเพิ่ม ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ย และผลผลิตส่วนเพิ่ม ผลผลิตเฉลี่ย(average product) ผลผลิตต่อหน่วยของปัจจัยการผลิต ตัวอย่าง: การผลิต Y 20 หน่วยจาก L 10 หน่วยและ K 30 หน่วย APL= Y/L = 2 APK =Y/K = 2/3 ผลผลิตส่วนเพิ่ม(marginal product) ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจากการใช้ปัจจัยการผลิตอีก 1 หน่วย MPLของ L หน่วยที่ 30 หรือ Y/L= 0.5

กฏการลดน้อยถอยลงในการผลิต(law of diminishing returns) แนวคิดในระยะสั้น

ช่วงการผลิต(stages of production) ไม่ผลิตในช่วงที่ 3 ไม่ผลิตในช่วงที่ 1

Lecture 9

การเลือกส่วนผสมของปัจจัยการผลิต เส้นต้นทุนเท่ากัน isocost ความลาดชันของเส้น isocost กับเส้น isoquant start lecture 9 2_50 ภาคปกติ/ภาคพิเศษ 21/1/51

ส่วนผสมของปัจจัยการผลิตและปริมาณผลผลิตในระยะสั้นและระยะยาว Expansion path

ส่วนผสมของปัจจัยการผลิตและราคาปัจจัยการผลิต ผลของการทดแทนและผลของปริมาณการผลิต(substitution and output effect)

ระดับการทดแทนระหว่างปัจจัยการผลิต ปัจจัยการผลิตที่ทดแทนกันไม่ได้เลย

ปัจจัยการผลิตที่ทดแทนกันได้อย่างสมบูรณ์

ความยืดหยุ่นของการทดแทน(elasticity of substitution) เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงในสัดส่วนการใช้ K ต่อ L เมื่อมีการ เปลี่ยนแปลง 1 เปอร์เซ็นต์ใน MRTS หรือ Pl/Pk มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง อนันต์

ประสิทธิภาพในการผลิต (production efficiency)

เส้นการจัดสรรทรัพยากรและเส้นผลผลิตสูงสุด(ppc) marginal rate of transformation (mrt) ความลาดชันของเส้น ppc ลดน้ำแร่ dr หน่วย งบประมาณลดลงdr.MCr บาท เพิ่มน้ำประปา dp หน่วย งบประมาณเพิ่ม dp.MCp dp.MCp = - dr.MCr -dr/dp=MCp/MCr ลักษณะของความชัน r dr dp p