บทที่ 11 พฤติกรรมรวมหมู่ และขบวนการทางสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
Advertisements

การกระทำทางสังคม (Social action)
เสียงตามสายเพื่อการศึกษา
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
ความหมายของเครือข่าย
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
วิธีการดำเนินงานธุรกิจเครือข่าย
การค้ามนุษย์.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
วิธีการทางสุขศึกษา.
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
อารมณ์และความต้องการของวัยรุ่น
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
การบริหารความพึงพอใจของทีมงาน
วิธีการทางวิทยาการระบาด
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การจูงใจ (Motivation)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
(Organizational Behaviors)
(Individual and Organizational)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
Communities of Practice (CoP)
การค้ามนุษย์.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
เรื่องราวทางสังคม (SOCIAL STORY)
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
SWOT.
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
การสร้างทีมงานในการบริหารโครงการ
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
Change Management.
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 11 พฤติกรรมรวมหมู่ และขบวนการทางสังคม (Collective Behavior & Social Movement)

พฤติกรรมรวมหมู่ (Collective Behavior) เกิดขึ้นจากการรวมกลุ่มกันทางสังคมและมีพฤติกรรมกลุ่มเกิดขึ้น อาทิเช่น ฝูงชน ม็อบ จลาจล หรือ Fad ข่าวลือ ฝูงชนตื่นตระหนก สาธารณะชน และการเกิดขึ้นของขบวนการสังคม

ลักษณะของพฤติกรรมรวมหมู่บางประเภท พฤติกรรมของกลุ่มบุคคลเป็นไปเอง (spontaneous) ไม่มีการเตรียมการหรือวางแผนที่จะให้เกิดพฤติกรรมร่วมกัน โครงสร้างของกลุ่มเป็นแบบหลวม ๆ (unstructured) สมาชิกมีอารมณ์พร้อมที่จะกระตุ้นให้โกรธ แสดงความรุนแรงได้ตลอดเวลา (emotional) ในแต่ละสังคมมีพฤติกรรมรวมหมู่มากน้อยไม่เท่ากัน ขึ้นกับสภาพแวดล้อมของสังคม

นักสังคมวิทยา สร้างทฤษีที่อธิบายถึงพฤติกรรมรวมหมู่ (Precondition of collective behavior) เอาไว้ว่า พฤติกรรมรวมหมู่เป็นพฤติกรรมที่มีสาเหตุ มิใช่เกิดขึ้นโดยไร้เหตุผล สาเหตุของพฤติกรรมรวมหมู่จะเกี่ยวข้องกับโครงสร้างสังคม และการสะสมความเครียดภายในสังคม ทำให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบรวมตัวกันเพื่อโต้ตอบกับสถานการณ์ที่พวกเขาเผชิญอยู่

ทฤษฎีของ Smelser สรุปขั้นตอนการเกิดพฤติกรรมรวมหมู่เป็น 6ขั้น ได้แก่ สรุปขั้นตอนการเกิดพฤติกรรมรวมหมู่เป็น 6ขั้น ได้แก่ 1.โครงสร้างสังคมที่เอื้อ Structural conduciveness 2.ความเครียดอันเกิดจากโครงสร้างสังคม Structural strain 3.การแพร่กระจายความเชื่อ Generalized belief

4.ปัจจัยกระตุ้น Precipitating factors 5.การมีพฤติกรรมรวมหมู่ของฝูงชน Mobilization for action 6.การเข้าควบคุมขององค์กรต่าง ๆ ภายในสังคม Operation of social control

แบบของพฤติกรรมรวมหมู่ แบ่งได้ 2 แบบดังนี้ 1.พฤติกรรมรวมหมู่ในพื้นที่จำกัด (Spatially Proximate Collective Behaviors) หรือฝูงชน (Crowds) 2.พฤติกรรมรวมหมู่แบบกระจาย (Spatially Diffuse Collective Behaviors)

1.พฤติกรรมรวมหมู่ในพื้นที่จำกัด/ฝูงชน ลักษณะเด่นได้แก่ การที่กลุ่มคนอยู่ในพื้นที่เดียวกัน แลเห็นกายกันได้ มีจุดสนใจร่วมกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่คาดฝันมาก่อน การรวมกลุ่มแบบหลวม ๆ เมื่อความสนใจหมดไปกลุ่มก็จะสลายไปเอง

Jonathan H. Turner (1978) อธิบายลักษณะเด่นของฝูงชนไว้เป็นลำดับดังนี้ 1.ฝูงชนจะมีภาวะนิรนาม (Anonymity) 2.มีการชักจูงง่าย (Suggestible) 3.มีการแพร่ระบาดพฤติกรรม (Contagion/Interactional Amplification) 4.อารมณ์ถูกกระตุ้นได้ง่าย (Emotional Arousal)

Herbert Blumer (1939) จำแนกฝูงชน ออกเป็น 4 แบบคือ 1.ฝูงชนบังเอิญ (Casual crowds) 2.ฝูงชนชุมนุมกัน (Conventional crowds) 3.ฝูงชนแสดงออก (Expressive crowds) 4.ฝูงชนลงมือทำ (Acting crowds)

2.พฤติกรรมรวมหมู่แบบกระจาย(Spatially Diffuse Collective Behaviors) แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ 1.มวลชน (mass) 2.สาธารณชน หรือ มหาชน (publics)

มวลชน หมายถึง กลุ่มบุคคลจำนวนมาก ที่มีความรู้สึกและความสนใจในบางสิ่งบางอย่างร่วมกัน สมาชิกของมวลชนไม่จำเป็นต้องมารวมกันในสถานที่แห่งเดียวกันโดยใกล้ชิด และไม่มีการปฏิสัมพันธ์ต่อกันหรือมีเพียงผิวเผิน

ไม่มีความรู้สึกเป็นกลุ่ม มีอิสระในการแสดงพฤติกรรม ไม่มีบรรทัดฐานเฉพาะกลุ่ม เช่น สมาชิกนิตยสาร กลุ่มคนที่สะสมแสตมป์ กลุ่มคนที่นิยมรถโฟลก์เต่า เป็นต้น

พฤติกรรมมวลชนที่พบเห็นกันบ่อย ๆ ได้แก่ แฟชั่น (fashions) หมายถึง วิถีประชาระยะสั้น แต่มีการหมุนเวียนกลับมาปฏิบัติใหม่อีก เช่น การนุ่งกระโปรงสั้น กระโปรงยาว เป็นต้น พฤติกรรมอีกประเภทซึ่งคล้ายกันได้แก่ ความคลั่งนิยมชั่วขณะ (fads) แตกต่างจากแฟชั่นตรงที่ไม่มีการหมุนเวียนกลับไปกลับมา เช่น การคลั่งดอกทิวลิปในยุโรปช่วงหนึ่ง ความนิยมโป่งขามในอดีตหรือหินสีในปัจจุบัน ของไทย

สาธารณชน หรือ มหาชน (publics) หมายถึง กลุ่มประชาชนซึ่งมีความสนใจและไม่เห็นด้วยกับประเด็นปัญหาใดปัญหาหนึ่งที่ต้องการการอภิปราย หรือมีข้อโต้แย้ง

สาธารณชนไม่มีความรู้สึกเป็นกลุ่ม ไม่มีบรรทัดฐานของกลุ่ม ความคิดเห็นเป็นไปโดยเสรี การปฏิสัมพันธ์กันไม่มากนักหรือไม่มีเลย บางครั้งปฏิสัมพันธ์ผ่านทางสื่อ เช่น วิทยุ คอลัมน์หนังสือพิมพ์

ขบวนการสังคม (Social Movement)

ขบวนการสังคม หมายถึง การรวบรวมความพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงบรรทัดฐานค่านิยมให้แก่สังคมใหม่ ขบวนการสังคมเป็นการรวมกลุ่มของสมาชิกสังคมที่มีระยะเวลาดำเนินการยาวนาน บางขบวนการอาจล้มเลิกไปก่อนที่เป้าหมายของขบวนการจะบรรลุ แต่บางขบวนการแม้เมื่อเป้าหมายบรรลุแล้ว ขบวนการก็ยังดำเนินต่อไป และขยายเป้าหมายใหม่ในการดำเนินการ

Blumer ได้อธิบายขั้นตอนการเกิดขบวนการสังคมออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ 1. สังคมมีความวุ่นวาย 2. ประชาชนตื่นตัวที่จะแก้ไขปัญหาความวุ่นวายนั้น 3. ประชาชนรวมตัวเป็นองค์กรเพื่อแก้ปัญหา และ ขั้นสุดท้าย 4. องค์กรกลายสภาพเป็นสำนักงานที่มีการทำงานเป็นระบบและกลายเป็นสถาบันสังคม