ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
Advertisements

ENVIRONMENTAL SCIENCE
BIOGEOCHEMICAL CYCLE.
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ดิน(Soil).
บรรยากาศ.
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
หินแปร (Metamorphic rocks)
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
สรุป เนื่องจากดูเหมือนว่าสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดลักษณะการกระจายของพืชพรรณ ดังนั้นถ้าบริเวณใดมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเหมือนที่เกิดขึ้นตามเส้นรุ้ง ก็น่าจะมีลักษณะของพืชพรรณเหมือนกันด้วย.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ทำไม..ที่นี่ไม่มีต้นไม้
Energy and the environment พลังงานและสิ่งแวดล้อม
น้ำและมหาสมุทร.
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความหลากหลายทางชีวภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
Biomes of the World.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ดินถล่ม.
Biomes of the World.
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
น้ำ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem ระบบนิเวศมีการสะสมอาหารและพลังงานเพิ่มขึ้น เพราะ ปัจจัยทางกายภาพที่เหมาะสม สิ่งมีชีวิตมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม การใช้พลังงานในการดำรงชีวิตมีค่าน้อยกว่าผลผลิตรวม

Climax/mature ecosystem ลักษณะของระบบนิเวศคงที่ สิ่งมีชีวิตมีความสมบูรณ์ พลังงานทั้งหมดจะถูกนำไปใช้โดยพืชและสัตว์

การเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศ Natural change การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม ดินถล่ม ต้องใช้ระยะเวลานานในการแทนที่ การเปลี่ยนแปลงจะเป็นไปตามขั้นตอนเริ่มต้นจากสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นในพื้นที่นั้น ๆ กลุ่มสิ่งมีชีวิตเริ่มต้นคือ pioneer community จนได้กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุด (climax community)

Artificial changes การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เนื่องจากการกระทำของมนุษย์ การเกษตร การใช้ยาฆ่าแมลง การใช้ปุ๋ย

วัฏจักรชีวธรณีเคมีในระบบนิเวศ แร่ธาตุที่สำคัญในระบบนิเวศ 1. แร่ธาตุที่ต้องการเป็นปริมาณมาก (macronutrient) ธาตุที่ประกอบเป็นน้ำหนักแห้งของสารประกอบอินทรีย์ในสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่ร้อยละ 0.2 - 1 ได้แก่ C, H ,O, N, P, K, Ca, Mg, S เป็นต้น 2. แร่ธาตุที่ต้องการเป็นปริมาณน้อย (micronutrient) ธาตุที่ประกอบเป็นน้ำหนักแห้งของสารประกอบอินทรีย์ในสิ่งมีชีวิต น้อยกว่าร้อยละ 0.2 ได้แก่ อลูมิเนียม โบรอน โบรมีน เป็นต้น

แร่ธาตุสำคัญ C, H, O, N, P, S เป็นองค์ประกอบหลักของโปรโตพลาสและเอนไซม์ ธาตุอื่น ๆ ที่กล่าวมาจะจำเป็นในขบวนการ Metabolism `

วัฏจักรชีวธรณีเคมี แร่ธาตุเหล่านี้จะมีการหมุนเวียนระหว่างสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตในระบบนิเวศ เกิดเป็นวัฏจักรที่มีความสัมพันธ์ระหว่างส่วนที่มีชีวิต Bio ในสภาพการเปลี่ยนแปลงทางเคมี chemical กับส่วนที่เป็นผิวโลกและบรรยากาศ Geo รวมกันเป็นที่มาของคำว่า Biogeochemical cycle

การแบ่งประเภท/กลุ่มของวัฏจักร Hydrologic cycle การหมุนเวียนของสารประกอบพวกน้ำ Gaseous cycle การหมุนเวียนของแร่ธาตุที่มีแหล่งสะสมใหญ่ในสภาพก๊าซในบรรยากาศ คาร์บอน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน ก๊าซไนโตรเจน

Sedimentary cycle การหมุนเวียนของแร่ธาตุที่มีแหล่งสะสมใหญ่ในสภาพตะกอน หิน ดิน ต่าง ๆ แหล่งสะสมจึงอยู่ในผิวโลกส่วนที่แข็ง (Lithosphere) เช่น ฟอสฟอรัส กำมะถัน

Carbon cycle

วัฏจักรไนโตรเจน ไนโตรเจน จำเป็นในการสร้างโปรโตพลาสซึม โดยจะเป็นส่วนประกอบสำคัญของโปรตีน ปริมาณไนโตรเจนในชั้นบรรยากาศ ประมาณร้อยละ 79 สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ไม่สามารถนำไนโตรเจนในบรรยากาศมาใช้โดยตรง แต่จะใช้เมื่ออยู่ในสภาพสารประกอบ เช่นแอมโมเนีย ไนไตรท์ และไนเตรต ดังนั้นไนโตรเจนในบรรยากาศต้องถูกเปลี่ยนรูปให้สิ่งมีชีวิตสามารถใช้ได้

ขบวนการที่เกี่ยวข้องกับวัฏจักรไนโตรเจน Nitrogen Fixation Ammonification Nitrification Denitrification

Nitrogen fixation เกิดโดยขบวนการ Electrochemical fixation/photochemical fixation เกิดจากปฏิกิริยาฟ้าแลบ ฟ้าผ่า การตรึงไนโตรเจนโดยขบวนการทางชีววิทยา - Symbiotic Bacteria Rhizobium - Free-living nitrogen fixer Azotobacter Clostridium Blue-green algae การสังเคราะห์ทางอุตสาหกรรม

Rhizobium

ขบวนการ Ammonification กรดอะมิโน โปรตีน แอมโมเนีย โดย Ammonifying bacteria เช่น Pseudomonas Proteus ขบวนการ Nitrification แอมโมเนีย ไนไตรท์ ไนเตรต ขบวนการ Denitrification ไนเตรต ก๊าซไนโตรเจน

วัฏจักรไนโตรเจน

วัฏจักรฟอสฟอรัส

ระบบนิเวศในน้ำ ระบบนิเวศในน้ำจืด (Fresh water ecosystem) น้ำนิ่ง (lentic/standing water) น้ำไหล (lotic/running water) น้ำนิ่ง แบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ บริเวณน้ำตื้น littoral zone บริเวณผิวหน้าน้ำห่างฝั่ง limnetic zone บริเวณน้ำลึก profundal zone

การแบ่งเขตของแหล่งน้ำนิ่ง

น้ำไหล อัตราการไหลของน้ำ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิ ระบบนิเวศน้ำเค็ม (ocean ecosystem) เขตชายฝั่ง เขตห่างชายฝั่ง ระบบนิเวศน้ำกร่อย (Estuary ecosystem) ป่าชายเลน (mangrove forest)

ระบบนิเวศวิทยาบนบก Tundra Taiga Deciduous forest Grassland Desert Tropical rain forest

ผลกระทบสิ่งแวดล้อม มลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ มลพิษของดิน

กิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลกระทบสิ่งแวดล้อม

แหล่งกำเนิดมลพิษทางน้ำ

การสะสมทางชีวภาพ (Bioaccumulation)

การแบ่งชั้นบรรยากาศ

แหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ

การเกิดฝนกรด (Acid rain)

Greenhouse Effects

ปัญหาน้ำท่วม