ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Advertisements

Arrays.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
Introduction to C Programming
การรับค่าและแสดงผล.
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
Principles of Programming
Principles of Programming
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Structure Programming
Array.
Structure.
ARRAY.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
ตัวแปรชุด.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 6: Function.
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
อาร์เรย์และข้อความสตริง
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 8 อาร์เรย์.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ปฏิบัติการครั้งที่ 10 pointer. หน่วยความจำ หน่วยความจำนั้นเสมือนเป็นช่องว่างไว้เก็บ ของที่มีหมายเลขประจำติดไว้ที่แต่ละช่อง เพื่อใช้ในการระบุตำแหน่งของช่องได้
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
ตัวแปรชุด Arrays.
อาร์เรย์ (Arrays).
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 ตัวแปรชุด (Array) 1 มิติ ตัวแปรชุด (Array) 2 มิติ

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม สามารถบอกถึงลักษณะต่าง ๆ ของตัวแปรชุดได้ สามารถใช้ตัวแปรชุด 1 มิติ ในการเขียนโปรแกรมได้ สามารถใช้ตัวแปรชุด 2 มิติ ในการเขียนโปรแกรมได้ สามารถนำตัวแปรชุดไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรมได้

ข้อมูลแต่ละตัวเรียกว่าเป็นสมาชิกของตัวแปรชุด ตัวแปรชุด (Arrays) กลุ่มของข้อมูลซึ่งมีชนิดข้อมูลเป็นอย่างเดียวกัน อ้างถึงกลุ่มข้อมูลชุดนี้ ด้วยชื่อตัวแปรเดียวกัน ข้อมูลแต่ละตัวเรียกว่าเป็นสมาชิกของตัวแปรชุด สมาชิกแต่ละตัวจะมีหมายเลข/ ดัชนี (index) กำกับ สมาชิกตัวที่ ๑ สมาชิกตัวที่ ๒ สมาชิกตัวที่ N ...

ตัวแปรชุด(Arrays) การประกาศตัวแปรชุด การอ้างถึงหรือการเรียกใช้ข้อมูลของตัวแปรชุด ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรชุดกับตัวแปรพอยน์เตอร์ การส่งผ่านตัวแปรชุดให้กับฟังก์ชัน ตัวแปรชุด (Array) หมายถึง ตัวแปรที่มีชื่อเดี่ยว ซึ่งมีตัวเลขกำกับชื่อตัวแปรนั้น ๆ โดยสามารถเก็บข้อมูลได้ในลักษณะเดียวกับตัวแปรหลายตัว

ตัวแปรชุด 1 มิติ (One Dimension) เป็นตัวแปรชุดที่มีเลขแสดงตำแหน่งเพียงตัวเดียว รูปแบบ ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร [จำนวนสมาชิก] ในตัวแปรชุดนั้นดัชนี (index) ของตัวสมาชิกจะเริ่มที่ 0 เสมอ

ตัวอย่าง int a[5]; หมายถึง a เป็นอาร์เรย์ที่มี 5 สมาชิก โดยสมาชิกทุกตัวเก็บค่าเป็นจำนวนเต็มและสมาชิกทุกตัวใช้พื้นที่ในหน่วยความจำ 2 ไบท์ ชื่อสมาชิก[ดัชนี] a[0] a[1] a[2] a[3] a[4] ข้อมูลในอาร์เรย์ 15 250 8 87 42

ตัวอย่าง float price[5]; ชื่อสมาชิก[ดัชนี] price[0] price[1] price[2] price[3] price[4] ข้อมูลในอาร์เรย์ 15.50 250.00 8.50 87.75 42.45

การกำหนดค่าให้กับอาร์เรย์ การกำหนดค่าให้กับอาร์เรย์มี 2 ลักษณะ คือ - การกำหนดค่าให้กับสมาชิกทุกตัว เป็นการกำหนดค่าให้กับสมาชิกทุกตัวในขณะที่ประกาศชนิด ตัวแปร - การกำหนดค่าให้กับสมาชิกตัวใดตัวหนึ่ง เป็นการกำหนดค่าให้กับสมาชิกเฉพาะตัว สมาชิกตัวอื่นไม่ถูก กำหนดค่า

การกำหนดค่าให้กับสมาชิกทุกตัว 1. การกำหนดค่าให้กับอาร์เรย์ที่มีค่าเป็นตัวเลข รูปแบบ ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[จำนวนสมาชิก] = {value-list} value-list หมายถึง ค่าคงที่ที่ต้องการกำหนดให้อาร์เรย์ โดยแต่ละค่าต้องคั่นด้วยเครื่องหมายคอมม่า และทั้งหมดต้องเขียนอยู่ในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา {}

ตัวอย่าง int X[5] = {5, 2, 4, 1, 3}; int X[ ] = {5, 2, 4, 1, 3}; X[0] X[1] X[2] X[3] X[4]

การกำหนดค่าให้กับสมาชิกทุกตัว (ต่อ) 2. การกำหนดค่าให้กับอาร์เรย์ชนิด Character การกำหนดค่าทีละหลายตัว รูปแบบ ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[จำนวนสมาชิก] = {value-list} ตัวอย่าง char a[5] = {‘L’,’O’,’V’,’E’,’\o’}

การกำหนดค่าให้กับอาร์เรย์ชนิด Character char id[8] = { ‘2’,’3’,’0’,’5’,’1’,’7’,’1’,’\0’ }; id[0] id[1] id[2] id[3] id[4] id[5] id[6] id[7] ‘2’ ‘3’ ‘0’ ‘5’ ‘1’ ‘7’ ‘\0’

การกำหนดค่าให้กับสมาชิกทุกตัว (ต่อ) การกำหนดค่าให้กับอาร์เรย์ชนิด Character การกำหนดเป็นข้อความ รูปแบบ ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[จำนวนสมาชิก] = “ข้อความ” ตัวอย่าง char a[5] = “LOVE” char a[ ] = “LOVE”

การกำหนดค่าให้กับสมาชิกตัวใดตัวหนึ่ง เป็นการกำหนดค่าให้กับสมาชิกเฉพาะตัว ตัวอย่าง int num[4]; num[3] = 120; char str[10]; str[5] = ‘V’;

ตัวอย่าง # include <stdio.h> #include <conio.h> void main ( ) { int data [5] = {10, 20, 30, 40, 50}; printf(“data[2] = %d\n”,data[2] ); printf(“data[4] = %d\n”,data[4] ); }

ตัวอย่าง กำหนดค่าเริ่มต้นให้กับสมาชิกทุกตัวของ score มีค่าเป็น 0 int i, score[10]; for (i= 0; i<10; i++) score[i] = 0; ... score[0] score[1] score[9]

ตัวอย่าง เรียงลำดับคะแนนจากน้อยไปมาก #define N 5 : int i, j, tmp, score[N]= {5, 2, 4, 1, 3}; for (i = 0; i< N -1; i++) for (j = i+1; j< N; j++) if (score[i] > score[ j]) { tmp = score[i]; score[i] = score[ j]; score[j] = tmp; }

#include <conio.h> #include <stdio.h> void main() { clrscr(); int i,a=0,num[5]; float sum=0,aver=0; while (a<=4) { printf("input number "); scanf("%d",&num[a]); sum = sum+num[a]; a++; } i=0; while (i<=4) { printf("num[%d] is %d \n",i,num[i]); i++; } aver = sum/i; printf("\n\n sum of %d number is %.2f",i,aver); getch(); }

ตัวแปรชุดหลายมิติ ตัวแปรชุด 2 มิติ (two dimensional arrays) หมายถึง อาร์เรย์ที่มีชุดอินเด็กซ์ จำนวน 2 ชุด โดยชุดแรกจะเป็นตัวเลขที่แสดงตำแหน่งแถว และชุดที่สองจะเป็นตัวเลขแสดงตำแหน่งคอลัมน์ รูปแบบ ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร [จำนวนสมาชิกที่ 1] [จำนวนสมาชิกที่ 2]; 0 1 2 3 เช่น int num [3][4]; 0 1 3 [0][0] [0][1] [0][2] [0][3] [1][0] [1][1] [1][2] [1][3] [2][0] [2][1] [2][2] [2][3]

ตัวแปรชุด 2 มิติ (two dimensional arrays) int a[2][3] ={{1,2,3},{4,5,6}}; 1 2 3 4 5 6 แถว 0 แถว 1 เพื่อเข้าให้ถึงข้อมูลซึ่งเป็นสมาชิกของตัวแปรชุด จะต้องใช้ตัวบ่งชี้เท่ากับจำนวนมิติ a[0][0] /*สมาชิกที่อยู่ในแถวแรก สดมภ์แรก*/ a[1][2] /*สมาชิกที่อยู่ในแถวที่สอง สดมภ์ที่ ๓ */ a[k][k+1] /*สมาชิกที่อยู่ในแถว k สดมภ์ k+1*/

ตัวอย่าง ผลรัน Void main() { int tw[3][4] = { {2,4,6,8},{1,3,5,7},{1,2,3,4} }; int r,c; clrscr(); for (r=0;r<=2;r++) { printf (“\n”); for (c=0;c<=3;c++) printf(“%d\t”,tw[r][c]); } ผลรัน 2 4 6 8 1 3 5 7 1 2 3 4

สรุป ตัวแปรชุด หมายถึง กลุ่มของข้อมูลซึ่งมีชนิดข้อมูลเป็นอย่างเดียวกัน อ้างถึงกลุ่มข้อมูลชุดนี้ด้วยชื่อตัวแปรเดียวกัน และ อ้างถึงสมาชิกแต่ละตัวด้วยชื่อตัวแปรชุดพร้อมระบุหมายเลข/ดัชนี การประกาศตัวแปรชุด (1) ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร [จำนวนสมาชิกในมิติที่ 1] [จำนวน สมาชิกในมิติที่ 2 ]; (2) ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร [ ] = { ค่าคงที่ตัวที่ 1,ค่าคงที่ตัวที่ 2,…, ค่าคงที่ตัวสุดท้าย }; (3) ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร [n] = { ค่าคงที่ตัวที่ 1, ค่าคงที่ตัวที่ 2, …, ค่าคงที่ตัวสุดท้าย };

ชื่อตัวแปรชุด [ดัชนี หรือ ตัวบ่งชี้ ] สรุป (ต่อ) การอ้างถึงหรือการเรียกใช้ข้อมูลของตัวแปรชุด ชื่อตัวแปรชุด [ดัชนี หรือ ตัวบ่งชี้ ] ในภาษา C ดัชนี มีชนิดข้อมูลเป็นจำนวนเต็ม ดัชนีตัวแรกมีค่าเป็น 0 เสมอ อาจอยู่ในรูปค่าคงที่ หรือ ตัวแปร หรือ นิพจน์ที่ให้ค่าเป็นจำนวนเต็ม จำนวนมิติของตัวแปรชุด จะบอกถึงจำนวนดัชนีที่ต้องใช้เพื่อระบุถึงสมาชิกของตัวแปรชุด

แบบฝึกหัด จงเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างอาร์เรย์ 5 สมาชิก แล้วรับค่าเข้าทางคีย์บอร์ด ไปเก็บไว้ในอาร์เรย์ แล้วหาค่าต่ำสุดของค่าที่เก็บอยู่ในอาร์เรย์