แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
03/04/60.
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
อะตอมมิกออร์บิทัล (atomic orbital)
Photochemistry.
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
Ground State & Excited State
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Morse Curve.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
Physical Chemistry III Introduction
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
พลังงานไอออไนเซชัน.
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 1 อัตราส่วน.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ด รัทเทอร์ ฟอร์ด พบว่ ารังสี ส่วนใหญ่ ไม่ เบี่ยงเบน และส่วนน้อยทีเบี่ยงเบนนั้น ทํามุมเบี่ยงเบนใหญ่ มากบางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วย.
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 1 Introduction.
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ซ่อมเสียง.
Electronic Circuits Design
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
พันธะเคมี.
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
Electronic Circuits Design
Physical Chemistry III Introduction
ว เคมีพื้นฐาน ตารางธาตุ
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
แบบจำลองอะตอมทอมสัน แบบจำลองอะตอมดอลตัน แบบจำลองอะตอมโบร์
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
“Khemie ... Easy Easy and Child Child.”
ตารางธาตุ.
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+ จ. Au+ and Au3+ ฉ. P3- and N3- 2. จงให้เหตุผลว่าทำไม Se จึงมีพลังงานไอออไนเซชันต่ำกว่า As ทั้งๆ Se ที่มีขนาดเล็กกว่า 3. จงเรียงลำดับธาตุต่อไปนี้ ตามขนาดอะตอมจากเล็กไปใหญ่: Li Na Mg C O ตาม Ionization Energy จากน้อยไปมาก: Mg P S Cl ตาม Electronegaivity จากต่ำไปสูง: C O F N Si ตาม Electron affinity จากต่ำไปสูง: Br Cl I Al

4. ธาตุ A, B, C, D และ E มีการจัดเรียงอิเล็คตรอนดังต่อไปนี้ A: 1s2 2s2 2p3 B: 1s2 2s1 C: 1s2 2s2 2p6 3s1 D: 1s2 2s2 E: 1s2 2s2 2p7 จงเรียงลำดับตามขนาดอะตอมจากเล็กไปใหญ่ 5. จงอธิบาย Pauli exclusion principle และ Hund’s rule 6. จงแสดงการจัดเรียงอิเล็คตรอนของอะตอมต่อไปนี้ 16S 22Ti 26Fe 28Ni 40Zr

11. จงบอกความแตกต่างระหว่างออร์บิทัล 1s กับ 2s และ 2s กับ 2p 7. จงอธิบายว่าเพราะอะไร พลังงานสัมพรรคภาคอิเล็คตรอนลำดับที่ 1 ของกัมมะถันมีค่า -200 kJ/mol แต่สัมพรรคภาคอิเล็คตรอนลำดับที่ 2 มีค่าเท่ากับ +649 kJ/mol 8. ธาตุ A และ B ในสภาวะเป็นกลาง มีจำนวนอิเล็คตรอนเท่ากับ 12 และ 17 ตามลำดับ จงหา แต่ละธาตุมีการจัดเรียงได้อย่างไร ธาตุใดมีขนาดใหญ่กว่า ธาตุใดมีค่า IE มากกว่า ธาตุใดมีค่า EN มากกว่า 9. จงหาความยาวคลื่นของแสงที่มีความถี่ 8.0x1015 Hz และความถี่ของแสงที่มีความยาวคลื่น 200 nm 10. จงหาพลังงานของโฟตอนที่มีความถี่ 3.0x1015 Hz และถ้าโฟตอนอีกตัวหนึ่งมีพลังงาน 2.0x10-20 J จะมีความยาวคลื่นเท่าใด 11. จงบอกความแตกต่างระหว่างออร์บิทัล 1s กับ 2s และ 2s กับ 2p