บทเรียนโปรแกรม POWER POINT

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Advertisements

การแต่งกลอน.
คำราชาศัพท์.
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
พระอภัยมณี โดย พีรพล บุญทะเล เลขที่ 1 ม.2/3 ปี 2548.
กาพย์เห่เรือ.
แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์. แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์ เป็นตำราแพทย์ของไทยโบราณ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รวบรวมขึ้นไว้
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
จากรูปภาพ นักเรียนคิดว่าเป็นการแต่งกายของชนชาติใด??
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
วรรณวิจิตร ไพเราะในร้อยกรอง
วัดพระแก้ว.
พระบรมมหาราชวัง Grand Palace.
วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ
บทร้อยกรอง.
บันทึกประวัติศาสตร์ เรื่อง....การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
โดย ครูภาวัติ บุญกาญจน์
โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
แนะนำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
ชุดไทยประจำชาติ วัฒนธรรมการแต่งกายประจำชาติ
คำนำ งานนำเสนอเรื่องใช้ประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ง20210เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 โปรแกรม PowerPoint 2007 เพื่อศึกษาในเรื่อง เขาวัง(พระนครคีรี) ผู้จัดหวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ศึกษาหากมีข้อผิดพลาประการใดผู้จัดทำขออภัยมา.
คำทำนายธิเบต สำหรับคุณ
ผู้บริหารพบนักเรียน.
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปีการศึกษา โรงเรียนแม่พริกวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำปาง เขต 2.
การอ้างอิง วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
สถานที่ท่องเที่ยวอยุธยา
นิทานเวตาล น.ม.ส. เข้าสู่บทเรียน.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
วรรณคดีสำคัญสมัยอยุธยาตอนปลาย
รวบรวมข้อมูลมาจาก วิกิพีเดีย
เป็นการกล่าวข้อความแสดงอารมณ์โศกเศร้า อาลัยรักที่เกิดจากความทุกข์อันเนื่องมาจากความไม่สมหวัง ความผิดหวัง ความสูญเสีย ตลอดจนเรื่องของการพลัดพราก เข้าทำนองพุทธวัจนะบทที่ว่า 
โดย ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงษ์ ณ อยุธยา
ค่าวคืออะไร       “ค่าว” หมายถึงคำประพันธ์ที่มีลักษณะร้อยสัมผัสสอดเกี่ยวกันไปแบบร่ายและจบลงด้วยโคลงสองหรือโคลงสามสุภาพ  มีหลายชนิดคือ เรื่องที่ปรากฏในเทศนาธรรม.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
ประวัติสุนทรภู่ ตระกูล วัยเยาว์ ออกบวช (ช่วงตกยาก) วิกิพีเดีย.
สุนทรภู่ 2. รูปภาพ 3. ภาพวาดลายเส้น 4. กลอน
ประเภทของวรรณกรรม.
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
พระเวสสันดรชาดก.
องค์ประกอบของวรรณคดี
เสาวรจนี.
ทัศนะศึกษา วัดอรุณราชวราราม.
วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จนตลอดระยะเวลาของ กรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ดีเด่นจนได้รับการยกย่องเป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่อง.
ดอกไม้ในวรรณคดีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
สถานที่ที่สำคัญในอยุธยา
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
กาพย์เห่เรือ.
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
เสด็จดุจเดือนขจร แจ่มฟ้า
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
สัลลาปังคพิไสย.
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
รสในวรรณคดี พิโรธวาทัง.
วรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนกลาง
ตัวละครในวรรณคดี วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนที่ยกย่อง
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
พระบรมมหาราชวัง.
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
กิจกรรมการสอนโดยใช้ “เพลง”
สุนทรภู่ 1.ประวัติสุนทรภู่ 2.ผลงานสุนทรภู่ 3.ที่มาของวันสุนทรภู่
พระอภัยมณี โดย ครูนิตยา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนโปรแกรม POWER POINT เรื่องกาพย์เห่เรือ นางศิริพรรณ รักร่วม ผู้สอน

สรุปความรู้เพิ่มเติม จากเรื่องกาพย์เห่เรือ ผู้นิพนธ์ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ หรือ เจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์ (เจ้าฟ้ากุ้ง)พระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงเป็นกวีเอกในสมัย กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ผลงาน ทางคดีธรรม มี 2 เรื่อง คือ นันโทปนันทสูตรคำหลวง และพระมาลัยคำหลวง ทางคดีโลก มี กาพย์เห่เรือ กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง และ กาพย์ห่อโคลงนิราศพระบาท

1. การเห่เรือหลวง มี 3 จังหวะ ดังนี้ 1 1. การเห่เรือหลวง มี 3 จังหวะ ดังนี้ 1.1 ช้าลวะเห่ มีทำนองช้า ใช้เห่เมื่อ เรือเริ่มออกจากท่า 1.2 มูลเห่ มีทำนองเร็ว ใช้เห่ต่อจาก ช้าลวะเห่และเมื่อเรือพาย ทวนน้ำ 1.3 สวะเห่ ใช้เห่เมื่อเรือเทียบท่า การเห่เรือ การเห่เรือของไทย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. การเห่เรือหลวง 2. การเห่เรือเล่น 2. การเห่เรือเล่น เป็นการเห่สำหรับเล่นเรือเที่ยวเตร่กัน มี 2 จังหวะ คือจังหวะจ้ำและจังหวะปกติ

เมื่อขึ้นเนื้อเรื่องตอนใหม่ก็ต้องแต่งโคลงสี่สุภาพบทหนึ่งนำเสมอ ลักษณะคำประพันธ์ แต่งเป็นกาพย์ห่อโคลง คือ นำด้วยโคลงสี่สุภาพ 1 บท ตามด้วย กาพย์ยานี 11 หลายบท เมื่อขึ้นเนื้อเรื่องตอนใหม่ก็ต้องแต่งโคลงสี่สุภาพบทหนึ่งนำเสมอ

เนื้อเรื่องโดยสังเขป มีการดำเนินเรื่องด้วยการเห่ชมเรือ เช้า เห่ชมกระบวนเรือพยุหยาตรา สาย เห่ชมปลา บ่าย เห่ชมไม้ เย็น เห่ชมนก ค่ำ เห่ครวญ ถึงนางที่รัก การพรรณนาความตั้งแต่ ตอนชมปลาเป็นต้นไป จะมีการพรรณนาพาดพิงไปถึง นางผู้เป็นที่รัก เข้าลักษณะนิราศ

ให้ความรู้ด้านต่างๆ เช่น ชื่อพันธุ์ไม้ พันธุ์นก คุณค่าที่ได้รับ ให้ความรู้ด้านต่างๆ เช่น ชื่อพันธุ์ไม้ พันธุ์นก สะท้อนให้เห็นขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยมของคนไทย มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และด้านสังคม

สะท้อนภาพชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ค่านิยมของคนไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ดังนี้ 1. ในสมัยนั้นใช้การคมนาคมทางน้ำเป็นสำคัญ 2. มีประเพณีที่เกิดจากการคมนาคมทางน้ำ คือ การเห่เรือ และศิลปะที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการที่พระมหากษัตริย์เสด็จประพาสทาง ชลมารค คือ วรรณศิลป์ (กาพย์เห่เรือ) สังคีตศิลป์ (ลำนำการเห่เรือ) เป็นต้น

3. วัฒนธรรมการแต่งกายของหญิงชาววังในสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา เช่น คิดอนงค์องค์เอวอร ผมประบ่าอ่าเอี่ยมไร เพียนทองงามดั่งทอง ไม่เหมือนน้องห่มตาดพราย 4. สะท้อนความเชื่อเกี่ยวกับกรรมสนองกรรม เช่น เวรามาทันแล้ว จึงจำแคล้วแก้วโกมล 5. แสดงค่านิยมเกี่ยวกับความงามของสตรี เช่น งามทรงวงดั่งวาด งามมารยาทนาดกรกราย งามพริ้มยิ้มแย้มพราย งามคำหวานลานใจถวิล

6. ให้ความรู้เกี่ยวกับขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ชื่อปลา ชื่อไม้ ชื่อนก เช่น นวลจันทร์ คางเบือน แก้มช้ำ / นางแย้ม จำปา ลำดวน / สร้อยทอง สาลิกา แขกเต้า แก้วฟ้า เช่น 7. ให้ความรู้เกี่ยวกับเทพนิยาย เช่น “เรือครุฑยุดนาคหิ้ว ลิ่วลอยมาพาผันผยอง” ครุฑยุดนาค - พาหนะของพระนารายณ์ คือ ครุฑ

คุณค่าด้านวรรณศิลป์ 1. ใช้รูปแบบกาพย์เห่เรือเหมาะสมกับเนื้อหาที่เกี่ยวกับการเสด็จประพาสทางชลมารค 2. ใช้ศิลปะการประพันธ์และโวหารภาพพจน์ ที่ก่อให้เกิดอารมณ์สุนทรี เข้าถึง ความงดงามของธรรมชาติและก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ ดังนี้ - สัทพจน์ (เลียนเสียงธรรมชาติ) พลพายกรายพายทอง ร้องโห่เห่โอ้เห่มา - เล่นคำ นวลจันทร์เป็นนวลจริง เจ้างามพริ้งยิ่งนวลปลา - ซ้ำคำ เรื่อยเรื่อยมารอนรอน ทิพากรจะตกต่ำ

- ซ้ำคำเล่นคำ. รอนรอนสุริยโอ้. อัสดง เรื่อยเรื่อยลับเมรุลง - ซ้ำคำเล่นคำ รอนรอนสุริยโอ้ อัสดง เรื่อยเรื่อยลับเมรุลง ค่ำแล้ว รอนรอนจิตจำนง นุชพี่ เพียงแม่ เรื่อยเรื่อยเรียมคอยแก้ว คลับคล้ายเรียมเหลียว - อัพภาส (การซ้ำอักษรหน้าศัพท์ เช่น ยิ้ม - ยะยิ้ม) เสียงสรวลระรี่นี้ เสียงแก้วพี่หรือเสียงใคร - สรรคำให้เกิดภาพ สุวรรณหงส์ทรงพู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์

- โวหารภาพพจน์ กวีใช้โวหารภาพพจน์เพื่อก่อให้เกิดจินตภาพ เช่น อุปมา : สรมุขมุขสี่ด้าน เพียงพิมานผ่านเมฆา อุปลักษณ์ : น้ำเงินคือเงินยวง ขาวพรายช่วงสีสำอาง สัญลักษณ์ : เรื่อยเรื่อยเรียมคอยแก้ว คลับคล้ายเรียมเหลียว

งานที่มอบหมาย ให้นักเรียนเลือกบทประพันธ์ที่ชอบจากเรื่องกาพย์เห่เรือมา 4-8 บท หรือจนจบเนื้อหาตอนที่ชอบ บอกเหตุผลที่ชอบ บอกประโยชน์/ข้อคิด ที่ได้รับจากเรื่อง (เฉพาะตอนที่เลือก) ทำในกระดาษ A4 ส่งภายใน 1 สัปดาห์ หลังจากที่เรียนเรื่องนี้จบ หมายเหตุ ชิ้นงานใดที่ส่งมาซ้ำกัน จะประเมินโดยนำไปเปรียบเทียบกันและจะต้องไม่ซ้ำกันเกิน ๓ คน หากเกินให้ทำใหม่

ตัวอย่างรูปแบบการทำชิ้นงาน บทประพันธ์ที่ชอบ เรื่องกาพย์เห่เรือ ตอน............. เหตุผลที่ชอบ ........................................................................................................................ ............................................................................................................................................. ข้อคิด/ประโยชน์ที่ได้จากตอนที่ชอบ .............................................................................................................................................. ชื่อ....................................................ชั้น.............เลขที่........... ตัวอย่างรูปแบบการทำชิ้นงาน ........... ........... .......... ........... .......... ........... ( วรรณคดีวิจักษ์ ม.๖ หน้า...........บทที่.......- ......) ๔-๘บท

สวัสดีค่ะ