สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

การเขียนบทความ.
หลักการบันทึกข้อความ
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
บทเรียนโปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g เหตุผลวิบัติ ( fallacies )
โดย นางสาวตรึงตา แหลมสมุทร
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเขียนผังงาน.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
งานวิจัยที่ดี.
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ธุรกิจ จดหมาย.
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
การจัดกระทำข้อมูล.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
แบบสอบถาม (Questionnaires)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมายของการวิจารณ์
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การรับฟังพยานหลักฐาน
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
การฟังเพลง.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ความหมายของการวิจารณ์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ทักษะการอ่าน.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
หน่วยที่ ๓ การนำเสนอข้อมูล
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การพูดโต้วาที เป็นการพูดแบบชักจูง และเป็นการอภิปรายที่จะต้องมีการโต้แย้งกันด้วยเหตุผล เพื่อตัดสินว่าจะยอมรับญัตตินั้นหรือไม่
การเขียนรายงาน.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
การเขียนโครงการ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point เรื่องการใช้ภาษาในการโต้แย้ง ผู้สอน ครูศิริพรรณ รักร่วม

การโต้แย้ง หมายถึง การแสดงทรรศนะที่แตกต่างกันระหว่างบุคคล ๓ ฝ่าย ซึ่งแต่ละฝ่ายจะต้องพยายามหาหลักฐาน เหตุผล ข้อมูล มาสนับสนุนทรรศนะของตนให้น่าเชื่อถือ

โครงสร้างของการโต้แย้ง โครงสร้างของการโต้แย้ง ประกอบด้วย - ข้อสรุป - เหตุผล หัวข้อและเนื้อหาของการโต้แย้ง ไม่จำกัดขอบเขต แต่ควรกำหนดให้ชัดเจนว่าจะโต้แย้งในหัวข้อใด

กระบวนการโต้แย้ง การโต้แย้ง แบ่งได้เป็น ๔ ขั้นตอน ดังนี้ การโต้แย้ง แบ่งได้เป็น ๔ ขั้นตอน ดังนี้ ๑. การตั้งประเด็นในการโต้แย้ง ๒. การนิยามคำและกลุ่มคำสำคัญที่อยู่ในประเด็นของ การโต้แย้ง ๓. การค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะของตน ๔. การชี้ให้เห็นจุดอ่อนและความผิดพลาดของทรรศนะ ของฝ่ายตรงกันข้าม

ขั้นที่ ๑ การตั้งประเด็นในการโต้แย้ง ขั้นที่ ๑ การตั้งประเด็นในการโต้แย้ง ประเด็นในการโต้แย้ง คือ คำถามที่ก่อให้เกิดการโต้แย้ง ประกอบด้วยประเด็นหลักและประเด็นรอง มีลักษณะเป็นคำถาม ผู้โต้ จะต้องรู้ว่ากำลังโต้แย้งเกี่ยวกับทรรศนะประเภทใดและโต้แย้งให้ตรงประเด็น คือ

๑. ถ้าเป็นการโต้แย้งเกี่ยวกับนโยบายหรือข้อเสนอเพื่อให้ เปลี่ยนแปลงจากสภาพเดิม มี ๓ ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ สภาพเดิมที่เป็นอยู่นั้นมีข้อบกพร่อง หรือไม่ อย่างไร ประเด็นที่ ๒ ข้อเสนอเพื่อการเปลี่ยนแปลงนั้น จะแก้ไขข้อบกพร่องได้หรือไม่ ประเด็นที่ ๓ ผลดีที่เกิดจากข้อเสนอนั้นมีเพียงใด

๒. ถ้าเป็นการโต้แย้งเกี่ยวกับข้อเท็จจริง มี ๒ ประเด็น ดังนี้ ๒. ถ้าเป็นการโต้แย้งเกี่ยวกับข้อเท็จจริง มี ๒ ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ ข้อเท็จจริงที่อ้างถึง มีหรือเป็นเช่นนั้นจริง หรือไม่ อยู่ที่ไหน ประเด็นที่ ๒ การตรวจสอบข้อเท็จจริงนั้นทำได้หรือไม่ ด้วยวิธีใด ๓. ถ้าเป็นการโต้แย้งเกี่ยวกับคุณค่า จะเป็นการโต้แย้งที่มีความรู้สึกส่วนตัวแทรกอยู่ ไม่อาจกำหนดประเด็นที่แน่นอนลงไปได้

ขั้นที่ ๒ การนิยามคำและกลุ่มคำสำคัญที่อยู่ใน ประเด็นของการโต้แย้ง ขั้นที่ ๒ การนิยามคำและกลุ่มคำสำคัญที่อยู่ใน ประเด็นของการโต้แย้ง การนิยาม คือ การกำหนดความหมายของคำหรือกลุ่มคำที่ใช้ในการโต้แย้งให้ชัดเจน เข้าใจตรงกัน ไม่สับสน จะโต้แย้งกันได้ถูกทิศทาง

วิธีนิยาม อาจนิยามได้ดังนี้ วิธีนิยาม อาจนิยามได้ดังนี้ นิยามตามพจนานุกรมหรือสารานุกรม นิยามตามคำอธิบายของผู้รู้ที่เขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร นิยามด้วยการเปรียบเทียบ นิยามด้วยการยกตัวอย่าง

ขั้นที่ ๓ การค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะ ของตน ขั้นที่ ๓ การค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะ ของตน การค้นหาข้อสนับสนุนทรรศนะของตน อาจค้นได้จาก การอ่าน การฟัง การสัมภาษณ์และการสังเกตด้วยตนเอง ทรรศนะนั้นจะน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับ ข้อสนับสนุนที่มาจากหลักฐาน สถิติ ข้อเท็จจริงต่างๆ

ขั้นที่ ๔ การชี้ให้เห็นจุดอ่อนและความผิดพลาด ของทรรศนะของฝ่ายตรงกันข้าม จุดอ่อนในการนิยามคำสำคัญ โดยชี้ให้เห็นว่า การนิยามนั้นวกวน ข้อความที่นำมาใช้ในนิยามบางคำอาจเข้าใจยาก หรือเป็นนิยามโดยอคติ เพื่อให้ประโยชน์แก่ฝ่ายตน ๒. จุดอ่อนในด้านปริมาณของความถูกต้องของข้อมูล โดยชี้ให้เห็นว่าข้อมูลที่อีกฝ่ายหนึ่งเสนอมานั้นมีข้อผิดพลาด หรือมีน้อยเกินไป หรือไม่มีน้ำหนักน่าเชื่อถือ

จุดอ่อนของสมมุติฐานและวิธีการอนุมาน - สมมุติฐาน คือ หลักทั่วไปที่ต้องยอมรับเสียก่อน และจากสมมุติฐานนั้น ผู้แสดงทรรศนะจะใช้วิธีอนุมานนำไปสู่ข้อสรุป - ส่วนวิธีการอนุมาน หมายถึง กระบวนการหาข้อสรุปจากสมมุติฐานที่มีอยู่ ในการโต้แย้งจะต้องชี้ให้เห็นว่า สมมุติฐานของฝ่ายตรงข้าม ยังไม่ใช่หลักที่เป็นที่ยอมรับ หรือวิธีการอนุมานนั้น ยังมีความผิดพลาดอยู่ เป็นต้น

การวินิจฉัยเพื่อตัดสินข้อโต้แย้ง มี ๒ แบบ ดังนี้ พิจารณาเฉพาะเนื้อหาสาระที่แต่ละฝ่ายนำมาโต้แย้งกัน ผู้ตัดสินต้องวางตัวเป็นกลาง ไม่นำความรู้หรือประสบการณ์ของตนเองมาใช้ในการตัดสิน เช่น การตัดสินคดี การตัดสินโต้วาที วินิจฉัยโดยใช้ดุลพินิจของตนมาประกอบการพิจารณาคำ-โต้แย้งของทั้งสองฝ่ายโดยละเอียด เช่น การลงมติในที่ประชุม การตัดสินใจเลือกพรรคการเมือง

ข้อควรระวังในการโต้แย้ง หลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์ มีมารยาทในการใช้ภาษาทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษา เลือกประเด็นในการโต้แย้งที่เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์

เรื่องการใช้ภาษาเพื่อโน้มน้าวใจ พบกันในตอนต่อไป เรื่องการใช้ภาษาเพื่อโน้มน้าวใจ