ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
Advertisements

การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
Foot mouse อาจารย์ที่ปรึกษา อ. ดร. วสุ เชาว์พานนท์ อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกุล ผู้นำเสนอโครงการ นายวรวุฒิ
01 COE ฐานข้อมูลชุมชนสุขภาวะต้นแบบ 500 ตำบล
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
การควบคุมคุณภาพคอนกรีต
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
2-test.
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การทดสอบสมมติฐาน
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
(Mantel-Heanszel Produrc)
วิธีทำ ตัวอย่างที่ วิธีทำ สินค้าทั้งหมดของ โรงงาน ตัวอย่างที่ 2.20.
การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
เทคโนโลยีสื่อประสมสอน ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ นายชูชีพ ขาวเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีนีร ชาบริหารธุรกิจ.
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยที่ 15 การประยุกต์สถิติ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การปนเปื้อนของเชื้อ ซัลโมเนลลาในอาหารสัตว์และการ ควบคุมเป็นงานวิจัยของสุมณฑา วัฒนสินธุ์ อรุณ ปางตระกูลนนท์ และธเนศ ชิดเครือ (2546) กรณีศึกษา :

เพื่อสำรวจแหล่งที่ มาของวัตถุดิบต่าง ๆ ที่นำมาผสม เป็นอาหารไก่ รวมทั้งน้ำที่ใช้เลี้ยงไก่ วัตถุประสงค์ :

สมมุติฐานหนึ่งของงานวิจัย : H0 : สัดส่วนของเชื้อซัลโมเนลลาที่ ตรวจพบในอาหารสัตว์ของแต่ ละโรงงาน (12 แห่ง)ไม่มีความ แตกต่างกัน

สมมุติฐานหนึ่งของงานวิจัย : H1 : สัดส่วนของเชื้อซัลโมเนลลา ที่ตรวจพบในอาหารสัตว์ของ แต่ละโรงงาน (12 แห่ง) ความ แตกต่างกัน

การดำเนินการศึกษา สุ่มเก็บตัวอย่างวัตถุดิบต่างๆ ที่ใช้ผลิต หรือใช้ผสมเป็นอาหารไก่และอาหารไก่สำเร็จรูปจากโรงงานผลิตอาหารสัตว์ในเขตกทม. และปริมณฑลรวม 12 แห่ง จำนวน 149 ตัวอย่าง สุ่มเก็บน้ำจากฟาร์ม 7 แห่ง จำนวน 20 ตัวอย่าง เพื่อทำการวิเคราะห์

การวัดค่าที่สนใจศึกษา บันทึกการพบหรือไม่พบเชื้อซัลโม เนลลาในตัวอย่างอาหารสัตว์ ของโรงงาน 12 แห่ง แต่ละแห่งทำการตรวจสอบด้วยจำนวนตัวอย่างที่แตกต่างกัน เช่น 3 8 10 13 20 28 .......ฯลฯ และบันทึกทำนอง เดียวกันกับตัวอย่างน้ำของฟาร์ม 7 แห่ง

การวิเคราะห์ทางสถิติ เนื่องจากข้อมูลที่บันทึกมาคือการ “พบ” หรือ “ไม่พบ” เชื้อซัลโมเนลลาในตัวอย่างอาหารสัตว์และทำการคำนวณสัดส่วนตัวอย่างเพื่อทดสอบสมมุติฐาน จะเห็นได้ว่าข้อมูลเป็นจำนวนนับและสิ่ง ที่สนใจคือ สัดส่วนของประชากรที่พบเชื้อซัลโมเนลลา

การวิเคราะห์ทางสถิติ นอกจากนี้การพบเชื้อหรือไม่พบเชื้อซัลโมเนลลาของแต่ละโรงงานเป็นอิสระต่อกัน จึงใช้สถิติไคสแควร์ทดสอบ

ผลการศึกษา จากผลการตรวจพบเชื้อซัลโม เนลลาทั้งหมด 44 ตัวอย่าง จากจำนวนตัวอย่าง 149 ตัวอย่าง ที่เก็บจากโรงงาน ผลิตอาหารสัตว์ 12 แห่งคิดเป็นร้อยละ 29.53

ผลการศึกษา เมื่อจำแนกสัดส่วนการพบเชื้อซัลโมเนลลาตามโรงงานพบว่าอัตราการ พบเชื้อซัลโมเนลลาแตกต่างกันมาก ดังตาราง

โรงงานที่ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 สัดส่วน 0.0 20.0 3.57 23.1 21.4 80.0 72.2 71.4 7.7 สูงสุดพบร้อยละ 80 ในโรงงานรหัส 08 ต่ำสุดพบร้อยละ 0 ในโรงงานรหัส 01, 02, 06 และ 11

เมื่อวิเคราะห์ความแตกต่างใน สัดส่วนโดยใช้สถิติไคสแควร์ พบว่าสัด ส่วนการพบเชื้อซัลโมเนลลาในโรงงาน ต่างๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ

ตัวอย่าง จากกรณีศึกษา สมมุติว่ามีโรงงานเพียงสองแห่ง คือ โรงงานรหัส 04 และ โรงงานรหัส 08 ถ้าต้องการพิจารณาว่าสัดส่วนหรือร้อยละการพบเชื้อซัลโมเนลลา ในอาหารสัตว์ของโรงงาน 08 มากกว่าโรงงาน 04 หรือไม่ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05

วิธีทำ กำหนดสมมุติฐาน 1. H0 : สัดส่วนหรือร้อยละของการพบ เชื้อซัลโมเนลลาในอาหารสัตว์ ของโรงงาน 08 และโรงงาน 04 ไม่แตกต่างกัน (P08 = P04 หรือ P08 - P04 = 0)

วิธีทำ H1 : สัดส่วนหรือร้อยละของการพบ เชื้อซัลโมเนลลาในอาหารสัตว์ ของโรงงาน 08 มากกว่าโรงงาน 04 (P08  P04 )

2. กำหนดระดับนัยสำคัญ  = 0.05 3. ค่าสถิติที่ใช้ทดสอบ คือ 2. กำหนดระดับนัยสำคัญ  = 0.05 3. ค่าสถิติที่ใช้ทดสอบ คือ ^ ^ Z = (p08 - p04) (P08 - P04) - ^ ^ ^ ^ (p08) (q08) + (p04 ) (q04) n08 n04 = (0.80 - 0.357) - 0 (0.80) (0.20) (0.357) (0.643) + 20 28 = 3.48

4. ค่า Z จากตารางที่ 3 หน้า 321 o  บริเวณยอมรับ Ho Z ตาราง = 1.645  ยอม 0.05

5. สรุปผลการทดสอบสมมุติฐาน ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0 และยอมรับ H1 แสดงว่าสัดส่วนหรือร้อยละของการพบเชื้อซัลโมเนลลาในอาหารสัตว์ของโรงงาน 08 มากกว่าสัดส่วนหรือร้อยละของการพบเชื้อซัลโมเนลลาในอาหารสัตว์ของโรงงาน 04 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ค่า Z คำนวณ  Z ตาราง