โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
Advertisements

Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School
03/04/60.
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
อะตอมมิกออร์บิทัล (atomic orbital)
sp2 Hybridization ของ CH2=CH2 (Ethylene)
การศึกษาโครงสร้างในแบบ 3 มิติ ว่า อะตอมต่างๆมีการจัดเรียงตัวในที่ว่าง
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
Time-Dependent Phenomena of Excited State
Photochemistry.
Dynamic Properties: Static Properties: สมบัติของสถานะเร้า
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
Electronic Transition
ความเป็นเบสของ Amines(Basicity of Amines)
แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลง สภาวะพลังงานเมื่อโมเลกุล
Ground State & Excited State
เมื่อสารดูดกลืนแสง มีการถ่ายเทประจุ (charge transfer) หรืออิเล็กตรอน
Morse Curve.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Electrophilic Substitution of Benzene
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
Hybridization = mixing
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พันธะเคมี Chemical bonding.
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
Chemical Bonding I: Basic Concepts
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ด รัทเทอร์ ฟอร์ด พบว่ ารังสี ส่วนใหญ่ ไม่ เบี่ยงเบน และส่วนน้อยทีเบี่ยงเบนนั้น ทํามุมเบี่ยงเบนใหญ่ มากบางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วย.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Amino Acids and Proteins
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
สมบัติทางเคมีของเอมีน
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Tanawat Attachaipanich M.5/5 MWIT 19
แนวโน้มของตารางธาตุ.
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 1 Introduction.
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แบบจำลองอะตอมของ Bohr
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
พันธะเคมี.
Chapter 4 Methods in Molecular Modelling
Molecular Ultraviolet/Visible Absorption Spectroscopy
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน ตารางธาตุ
Pericyclic Reactions ลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากปฏิกริยาอื่นๆ คือ
แบบจำลองอะตอมทอมสัน แบบจำลองอะตอมดอลตัน แบบจำลองอะตอมโบร์
โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ
Periodic Atomic Properties of the Elements
Concept behind VSEPR Molecular geometries Lecture 25: VSEPR
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions Molecular Orbitals (MO) เป็นการรวมเชิงเส้นของ Valence shell ของ Atomic orbitals

y = fA + fB bonding y* = fA - fB antibonding

p* p

Quantum chemistry ?

n-Orbital (non-bonding Orbital) orbital ที่บรรจุคู่ของอิเล็กตรอน ที่ไม่ใช้ในการสร้างพันธะ (คู่อิเล็กตรอนโดดเดี่ยว : lone pair electron) n-orbital of Carbonyl group Pyridine

ที่ Conjugated กับ p-orbital Lone pair orbital ของ Aniline ไม่ใช่ n-orbital Lone pair orbital ของ Furan ไม่ใช่ n-orbital เพราะเป็น orbital ที่ Conjugated กับ p-orbital

p* n

p Orbital p p* p Orbital ของกลุ่มคาร์บอนิล

Benzene

p Orbital ของเบนซิน

s orbital ของ carbonyl group carbonyl group s and s* Orbital

มีอิเล็กตรอน 16 ตัวใน s-และ P-orbital Ground State Configuration Formaldehyde H : 1S1 C : 1S2 2S2 2P2 O : 1S2 2S2 2P4 H C=O มีอิเล็กตรอน 16 ตัวใน s-และ P-orbital

พันธะในโมเลกุล 2sC-H 1sC-O 1pC-O

การจัดเรียงระดับพลังงาน s*C-O p*C-O nO p C-O s C-O s*C-H s C-H 2sO 1sC 1sO

การจัดเติมอิเล็กตรอน 16 ตัว (1sO)2 (1sC)2 (2sO)2 (sC-H)2 (s*C-H)2 (sC-O)2 (pC-O)2 (nO)2 (p*C-O)0 (s*C-O)0 Ground State Electronic Configuration (pC-O)2 (nO)2 (pC-O)2 (nO)2 (p*C-O)0 (s*C-O)0 S0 =

s*C-O s*C-O p*C-O pC-O Sn : 1(n ฎ p*) 1(nฎ p*) s*C-O p*C-O pC-O Tn : nO pC-O Sn : excited state 1(n ฎ p*) 1(nฎ p*) s*C-O p*C-O nO pC-O Tn : excited state 3(p ฎ s*) p*C-O nO pC-O S0 : ground state

H C=O Formaldehyde p*CO pCO p,p* n,p* p2 n2 (c) States nO (a) Transitions (b) Configurations

Ethylene p ฎ p* Transition p2 p,p* p,p* p,p* p2 S1 T1 S0 H H C = C H H (c) States p2 p,p* T1 S1 S0 (a) Transitions p,p* p*CC pCC p,p* p2 (b) Configurations

p ฎ p* Y1 * y1 f1 f2 antibonding orbital atomic (y1 * = f1 - f2) orbital f2 f1 f2 bonding orbital (y1 = f1 + f2) y1

Energy gap ของ HOMO และ LUMO ลดลง Conjugation shift of p ฎ p* Transition Energy gap ของ HOMO และ LUMO ลดลง เมื่อจำนวน conjugated double bonds เพิ่มขึ้น HOMO : Highest Occupied Molecular Orbitals LUMO : Lowest Unoccupied Molecular Orbitals ethylene butadiene traxatriene octateraene HOMO LUMO

เมื่อจำนวน conjugated double bonds เพิ่มขึ้น พลังงานของการ transition Conjugation shift of p ฎ p* Transition เมื่อจำนวน conjugated double bonds เพิ่มขึ้น พลังงานของการ transition (p ฎ p*) ลดลง มีผลให้ความยาว คลื่นแสง เพิ่มขึ้น (เรียกว่า เกิด “Bathochromic displacement” หรือ red shift)

energy ( = อิเล็กตรอน) p4* p* p* 170 nm p3* 217 nm 175 nm (forbidden) ( = อิเล็กตรอน) C = C C = C C = C C = C

Bathochromic displacement “Red shift” 200 Bathochromic displacement “Red shift” 500 จำนวนของพันธะคู่ l ยาว (พลังงานต่ำ) ม่วง แดง l สั้น (พลังงานสูง)

มักจะพบในโมเลกุลที่มี chromophores หรือกลุ่มอะตอมที่ดูดกลืนแสง n ฎ p* Transition มักจะพบในโมเลกุลที่มี chromophores หรือกลุ่มอะตอมที่ดูดกลืนแสง ที่มีพันธะร่วมกับ hetero-atoms เช่น C=O, C=N, C=S, N=N, N=O เป็นต้น

อิเล็กตรอนอยู่อย่างไร ? R O C ( )* 1 R O C 1 ( )* n ฎ p* 1(n ฎ p*) 3(n ฎ p*)

.. จำพวก alkylhalide (R-X) ที่มีค่า ionization potential ต่ำ ๆ n ฎ s* Transition มักพบในสารประกอบ: .. ที่มี hetero atoms เช่น R-NH2,R-OH,R-SH จำพวก alkylhalide (R-X) เมื่อ X = F, Cl, Br, I, At ที่มีค่า ionization potential ต่ำ ๆ ซึ่งจะถูก ionized ได้ง่าย

C N s * CN n(SP 3 ) n s * C N

s ฎ s* Transition s * s * C C C N s C C

การเกิด s ฎ s* จะต้องใช้พลังงานสูงมาก ๆ คือ ในช่วงแสง vacuum UV (< 200 nm) มักเกิดกับสารประกอบพันธะเดี่ยวเช่น alkane เมื่อเกิดการ transition แบบนี้แล้ว มักมีผล ทำให้พันธะของโมเลกุลถูกทำลายลง เกิดเป็นอนุมูลอิสระ (radicals)