จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
ทักษะการคิดขั้นสูงของบลูม (Bloom’s Taxonomy)
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
Thesis รุ่น 1.
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ประเภท ระดับ และพฤติกรรมการเรียนรู้
การเขียนรายงานการวิจัย
รูปแบบการสอน.
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กระบวนการวิจัย Process of Research
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การเขียนรายงาน.
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การฟังเพลง.
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
การวัดทางด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้ (Educational Objectives & Learning Objectives)

พุทธิพิสัย (Cognitive domain) เป็นจุดมุ่งหมาย ที่ต้องการพัฒนาความสามารถทางสมอง หรือ สติปัญญาของผู้เรียน การประเมินค่า การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ การนำไปใช้ ความเข้าใจ ความรู้-ความจำ

จิตพิสัย (Affective domain) เป็นจุดมุ่งหมาย ที่ต้องการพัฒนาความรู้สึกนึกคิด หรือ จิตใจของผู้เรียน การสร้างลักษณะคุณค่า การจัดระบบคุณค่า การให้คุณค่า การตอบสนอง การรับรู้

ทักษะพิสัย (Psychomotor domain) เป็นจุดมุ่งหมาย ที่ต้องการพัฒนาความในการปฏิบัติ โดยใช้กลไกต่างๆ ของร่างกาย กระทำได้อย่างธรรมชาติ กระทำอย่างต่อเนื่อง ความแม่นยำ การจัดทำ การเลียนแบบ

จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม พฤติกรรมคาดหวัง (expected behavior) สถานการณ์ (situation) เกณฑ์ (criteria)

การพิจารณากำหนดเกณฑ์ ระดับความสามารถของกลุ่มผู้เรียน ความยาก ง่าย ของเนื้อหา ความสำคัญของเนื้อหา หลักจิตวิทยา

จุดมุ่งหมายทางการศึกษา ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) จำแนกออกเป็น 1.00 ความรู้ความจำ 2.00 ความเข้าใจ 3.00 การนำไปใช้ 4.00 การวิเคราะห์ 5.00 การสังเคราะห์ 6.00 การประเมินผล ง่าย ยาก

คำที่แสดงการกระทำจำแนกตามระดับต่างๆ ของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธิพิสัย 1.00 ความรู้-ความจำ บอก บ่งชี้ บรรยาย แยกประเภท จัดลำดับ ระบุ ให้ตัวอย่าง ให้นิยาม ให้เครื่องหมาย 2.00 ความเข้าใจ แปล เปลี่ยนรูป ใช้ภาษาของตนเอง ยกตัวอย่าง ตีความ บอก จัดเรียงใหม่ ทำนาย กะประมาณ ขยาย คาดคะเน ลงสรุป 3.00 การนำไปใช้ บอก ใช้ คำนวณ เลือก สร้าง เสนอ แก้ปัญหา ผลิต แสดง ดัดแปลง สาธิต เตรียม

คำที่แสดงการกระทำจำแนกตามระดับต่างๆ ของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธิพิสัย 4.00 การวิเคราะห์ บอก บ่ง จำแนก สกัด ค้นหา แยกแยะ บอกความแตกต่าง-คล้ายคลึง ลงสรุป จัดประเภท ประมาณราคา จัดจำพวก ตั้งคำถาม ทดสอบ 5.00 การสังเคราะห์ บอก เขียน สร้าง แก้ไข รวบรวม ประกอบ ขยาย ริเริ่ม ผลิต วางโครงการ เสนอ ออกแบบ ปรับปรุง พัฒนา อนุมาน พิสูจน์ ค้นหา 6.00 การประเมินผล ตัดสิน ประเมิน โต้แย้ง ใช้เกณฑ์วิพากษ์วิจารณ์ ชี้ขาด พิจารณา เปรียบเทียบ ให้คะแนน ใช้เกณฑ์เปรียบเทียบ บ่งเหตผล บ่งความสอดคล้อง

ตัวอย่างจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เมื่อกำหนดคำให้ 20 คำ สามารถแยกได้ว่า คำใดเป็น คำเป็น-คำตาย ได้อย่างถูกต้อง สามารถแบ่งครึ่งมุมที่กำหนดให้โดยไม่ต้องใช้วงเวียน เมื่อตั้งคำถามว่าทำไมน้ำทะเลจึงเค็ม นักเรียนสามารถตั้ง สมมติฐานที่แสดงถึงสาเหตุได้อย่างน้อย 2 สมมติฐาน แก้ไขประโยคที่ใช้ article ผิดที่กำหนดให้ได้ถูกต้องทั้ง 10 ประโยค

ตัวอย่างการวิเคราะห์เนื้อหา วิชาหลักภาษาไทย 1. ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย 2. ประวัติอักษรไทย 3. ลักษณะสำคัญของภาษาไทย 4. คำและความหมายของคำ 5. หน้าที่ของคำเมื่อเข้าประโยค 6. แบบแผนของคำประพันธ์ประเภทกาพย์

ตัวอย่างจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เรื่อง ลักษณะสำคัญของภาษาไทย 1. บอกลักษณะสำคัญของภาษาได้ 2. ระบุได้ว่าคำใดเป็นคำโดดหรือคำประสม 3. ยกตัวอย่างคำที่ทำหน้าที่ได้หลายอย่าง อย่างน้อย 4 คำ 4. บอกตำแหน่งของคำขยายในภาษาไทยได้ 5. บอกตำแหน่งของลักษณะนามในภาษาไทยได้ 6. บอกลักษณะแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับ ภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต และภาษาอังกฤษ ได้

ตัวอย่างจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เรื่อง คำและความหมายของคำ 1. สามารถจำแนกระบบเสียงในภาษาไทยได้ 2. จำแนกรูป เสียง ของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ได้ 3. จำแนกคำที่ใช้สระลดรูปและเปลี่ยนรูปได้ 4. จำแนกเสียงของคำที่ไม่ปรากฏรูปวรรณยุกต์ และ ปรากฏรูปวรรณยุกต์ได้ 5. วิเคราะห์องค์ประกอบของคำในภาษาไทยได้ 6. บอกได้ว่าคำที่กำหนดให้ เป็นคำประสมแบบใด

ตัวอย่างจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เรื่อง คำและความหมายของคำ 7. บอกข้อแตกต่างระหว่างคำประสมสามส่วน สี่ส่วน สี่ส่วนพิเศษ และห้าส่วนได้ 8. บอกสาเหตุที่คำไทยมีหลายพยางค์ได้ 9. วิเคราะห์คำที่มีความหมายโดยตรงและ ความหมายโดยนัยได้ 10. อธิบายได้ว่าเสียงวรรณยุกต์มีอิทธิพลต่อ ความหมายของคำ

ตัวอย่างจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เรื่อง คำและความหมายของคำ 11. สามารถยกตัวอย่างคำที่มีความหมายเปรียบเทียบได้ อย่างน้อย 10 สำนวน 12. จำแนกคำไทย บาลี สันสกฤต ได้ 13. บอกความหมายของคำตามตำแหน่งที่วางไว้ ในประโยคได้