ศาสนากับวิวัฒนาการของแนวความคิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
Advertisements

กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
เครือข่ายโรงเรียนเอกชน จังหวัดลำปาง วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม 2556
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
สังคมศึกษา.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
สถาบันวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ระบบความเชื่อ.
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การค้ามนุษย์.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
หลักการยอกยาการ์ตา คำปรารภ
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
ที่มา และแนวคิดสิทธิมนุษยชนใน อารยธรรมไทย รับผิดชอบโดย อ. ทศพลทรรศนกุลพันธ์
Law and Modern World ภาคการศึกษา 2/2556.
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
บทบาท อำนาจ หน้าที่ข้าราชการ กอ. รมน
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
Law and Modern World ภาคการศึกษา 1/2557
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ศาสนาคริสต์.
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
กฏหมายกับสังคมสมัยใหม่
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
Law and Modern world กฎหมายกับโลกสมัยใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศาสนากับวิวัฒนาการของแนวความคิด ก่อนหน้ายุคสมัยใหม่ อาณาจักรอยู่ภายใต้อำนาจของศาสนจักร การแต่งตั้งกษัตริย์ต้องได้รับความเห็นชอบจากพระสันตปาปา แนวความคิดของศาสนจักรมีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อการอธิบายจักรวาล โลก มนุษย์ 6 Belief

อิทธิพลของศาสนาต่อรัฐ การเกิดขึ้นของสังคมจากแนวคิดทางศาสนา 6 Belief

อิทธิพลของศาสนาต่อรัฐ มนุษย์ถือกำเนิดขึ้นพร้อมกับบาป “บาปกำเนิด” (original sin) เป้าหมายของมนุษย์ภายใต้คำอธิบายทางคริสตศาสนา รัฐถือกำเนิดขึ้นเพื่อทำหน้าที่สนับสนุนให้บุคคลสามารถกลับคืนไปสู่ดินแดนของพระเจ้า God  ศาสนจักร  อาณาจักร 6 Belief

กฎหมายกับศาสนา ศาสนา คืออะไร? ความคิด ความเชื่อและพิธีกรรมปฏิบัติของคนต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น พระเจ้า หรือสิ่งเหนือธรมชาติ หรือ อะไรก็ได้ที่คนยึดมั่นถือมั่น เช่น การนับถือผี ศาสนาส่งผลต่อกฎหมายในฐานะที่เป็นคุณค่ารวมกันของสังคม (societal values that shape the rules) อันที่เป็นหลักการพื้นฐานของกฎหมาย ตัวอย่าง ห้ามฆ่าคน ห้ามลักทรัพย์ 6 Belief

Jesus of Nazareth ( B.C. 4 – A.C. 30) พระเยซู Jesus of Nazareth ( B.C. 4 – A.C. 30) 6 Belief

การกำจัดผู้ที่นอกรีตที่ขัดแย้งกับความเชื่อทางศาสนา สมัยก่อน ศาสนาคริสต์ เชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล กาลิเลโอ Galileo Galilei ชาวอิตาลี (ค.ศ. 1564 - 1642) ผู้พัฒนากล้องโทรทรรศน์ และเสนอแนวคิดว่าดวงอาทิตย์ เป็นศูนย์กลางของจักรวาล จึงถูกกักตัวให้อยู่แต่ในบ้าน ภายใต้การควบคุมของศาลศาสนาโรมัน 6 Belief

ข้อเสนอที่ขัดแย้งกับ ความเชื่อทางศาสนา Charles Darwin 1809-1882 นักวิทยาศาสตร์ที่ต้องระวังอย่างมากในการตีพิมพ์บทความจากการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ของเขาที่จะกระทบต่อความเชื่อเกี่ยวกับการกำเนิดของมนุษย์และทฤษฎีวิวัฒนการ On the Origin of Species 6 Belief

การล่าแม่มด เกิดขึ้นในช่วง (ค.ศ. 1480 - 1750) ในยุโรป และอเมริกาเหนือ เกิดขึ้นในช่วง (ค.ศ. 1480 - 1750) ในยุโรป และอเมริกาเหนือ ในอังกฤษ มีการประกาศใช้ Witchcraft Act of 1735 พบว่ามีการห้ามไม่ให้ ปฏิบัติพิธีกรรมเป็นแม่มด มีการไต่สวนผู้ที่ถูก กล่าวหาว่าเป็นแม่มดโดย การเผา 6 Belief

สงครามครูเสด Pope และศาสนจักรโรมันคาทอลิก ประกาศจะยึดคืนเยรูซาเล็ม - เมืองศักดิ์สิทธิ์ 1.1 สงครามครูเสด ครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1095-1101) 1.2 สงครามครูเสด ครั้งที่ 2 (1147–1149) 1.3 สงครามครูเสด ครั้งที่ 3 (1187–1192) 6 Belief

แผนที่เยรูซาเล็ม 6 Belief

ดินแดนแห่งน้ำผึ้ง! ทายาทของอับราฮัม The Promised Land ดินแดนแห่งสัญญลักษณ์ จากสงครามครูเสด ถึง สงครามตัวแทน - อิสราเอลกับปาเลสไตน์ 6 Belief

ปัญหาความขัดแย้งระหว่างศาสนากับผู้ปกครอง/รัฐ Henry VIII ก่อตั้งศาสนาคริสต์นิกาย Church of England ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักรยังมีอยู่มาก ความเชื่อของผู้ปกครองต่อศาสนาส่งผลกระทบต่อประชาชนอย่างมาก 6 Belief

ปัญหาความขัดแย้งระหว่างศาสนากับผู้ปกครอง/รัฐ ความขัดแย้งระหว่างคาทอลิกและโปแตสแทนในอังกฤษ Bloody Mary! มีผู้เสียชีวิตจากเหตูการณ์นี้ถึง 283 คน และหลบหนีเป็นจำนวนมาก Queen Elizabeth I : the Golden Edge พยายามลดแรงกดดัน ความขัดแย้งทางศาสนา 6 Belief

การแสวงหาดินแดนใหม่: The Land of the Free Puritan กลุ่มที่พยายามแสวงหาเสรีภาพในการนับถือศาสนาที่เรียบง่ายและไม่ยึดติดกับรูปแบบพิธีกรรมอันไม่จำเป็น 6 Belief

การแสวงหาดินแดนใหม่: The Land of the Free พยายามแยกรัฐออกจากอิทธิพลของศาสนา รัฐต้องไม่อุดหนุนศาสนาใดๆ 6 Belief

โอมชินริเกียว การหาหลักยึดเหนี่ยวจิตใจ การฆ่าเป็นบาปที่ร้ายแรงที่สุด ทำไมผู้ที่ฆ่าคนจึงอ้างหลักศาสนาได้! อะไรคือเหตุผลที่สามารถชักจูงให้คนฆ่าตัวตายได้? 6 Belief

ตามคำสอนของพรรคคอมมิวนิสต์ – ศาสนาคือสิ่งมัวเมา ลัทธิฟาหลุนกง ตามคำสอนของพรรคคอมมิวนิสต์ – ศาสนาคือสิ่งมัวเมา 6 Belief

9/11 6 Belief

การเผาคัมภีร์กุรอ่านของสาธุคุณที่แทกซัส The new Crusade? Aftermath ของ 9/11 การควบคุมระบบความปลอดภัยในการบิน, การบุกอัฟกานิสถาน อิรัค และการสังหารบินลาเดน การเผาคัมภีร์กุรอ่านของสาธุคุณที่แทกซัส การ์ตูนเดนนิส ที่ล้อศาสดาของศาสนาอิสลาม ปัญหาสี่จังหวัดภาคใต้ ความมั่นคง/ปลอดภัย ปัญหาการคุกคามเสรีภาพ - กฎหมายป้องกันการทรมาน 6 Belief

ปัญหาต่างๆที่เกี่ยวกับความคิด ความเชื่อทางศาสนา สรุป – ความขัดแย้งบนพื้นฐานของการอ้างศาสนา นำไปสู่การมองกฎหมายกับศาสนา การมองจากรัฐ macro view ท่าทีของรัฐต่อศาสนา – ปฏิเสธ Secular Stateหรือ ส่งเสริม Religion State การมองจากปัจเจก micro view สิทธิและเสรีภาพของคนในการนับถือศาสนา หรือความคิดความเชื่อของคน ต่อผลการใช้บังคับกฎหมาย จบ ☃ 6 Belief

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับศาสนา อาจแยกพิจารณาได้ 2 แนวทาง บทบาทของรัฐต่อศาสนา – อาจเป็นในทางส่งเสริมสนับสนุน หรือเป็นกลาง สิทธิและเสรีภาพของบุคคล โดยผ่านมุมมองทางกฎหมายโดยอาศัยพื้นฐานแนวคิด/ความเชื่อทางศาสนา 6 Belief

บทบาทของรัฐต่อการดำเนินงานทางศาสนา “Everything is miracle or nothing is miracle.” ศาสนาเป็นเรื่องความเชื่อและศรัทธา ซึ่งมักมีการทำนุบำรุงศาสนา บทบาทของรัฐในการวางตัวเป็นกลาง Secular State รัฐที่เป็นปฏิปักษ์ต่อศาสนา Atheistic State เชื่อว่าพระเจ้าไม่มีอยู่จริง Anti-clericalism/ Anti-religious/ Irreligious Religious state ตัวอย่างเช่น Islamic Republic http://en.wikipedia.org/wiki/Secular_state 6 Belief

ตัวอย่างของ secular state The US Constitution – Bill of Rights: Article [I] “Congress shall make no law respecting an establishment of religion, or prohibiting the free exercise thereof; or abridging the freedom of speech, or of the press; or the right of the people peaceably to assemble, and to petition the Government for a redress of grievances.” 6 Belief

ตัวอย่างของ religious state Iran Constitution, Article 1 “The form of government of Iran is that of an Islamic Republic, endorsed by the people of  Iran on the basis of their longstanding belief in the sovereignty of truth and Qur'anic  justice...” Article 4 “All civil, penal financial, economic, administrative, cultural, military, political, and other laws and regulations must be based on Islamic criteria.” 6 Belief

ประเทศไทยกับ ท่าทีต่อศาสนาพุทธ พิจารณาจากกฎหมาย กำหนดในรัฐธรรมนูญ มาตรา 9 “พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก” มีพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 พระมหากษัตริย์เป็นผู้สถาปนาพระสังฆราช นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาการตามกฎหมาย มีการกำหนดให้สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติเป็นเลขาธิการของมหาเถระสมาคม ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ และที่ศาสนสมบัติกลาง เป็นทรัพย์สินซึ่งไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี 6 Belief

ประเทศไทยกับ ท่าทีต่อศาสนาอิสลาม พระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจุฬาราชมนตรีคนหนึ่ง เพื่อเป็นผู้นำกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย ให้ นายกรัฐมนตรีนำชื่อผู้ที่จะดำรงตำแหน่งจุฬาราชมนตรีซึ่งได้รับความเห็นชอบ จากกรรมการอิสลามประจำจังหวัดทั่วประเทศขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นจุฬาราชมนตรี ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ การสร้าง การจัดตั้ง การย้าย การรวม การเลิก และการจดทะเบียนมัสยิด ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง ให้มัสยิดที่ได้จดทะเบียนจัดตั้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แล้วมีฐานะเป็นนิติบุคคล 6 Belief

ข้อพิจารณา "ในปีงบประมาณ 2552 สำนักพุทธฯ ได้รับงบในการสนับสนุนจากรัฐบาลดำเนินงาน 3,449 ล้าน เพื่อพัฒนาและส่งเสริมพระพุทธศาสนาในประเทศไทยให้เจริญรุ่งเรือง เผยแพร่ในระดับนานาชาติ รวมไปถึงพัฒนาระบบสารสนเทศให้เป็นแหล่งค้นคว้าด้านพระพุทธศาสนา ล่าสุด ได้รับงบสนับสนุนด้านการศึกษาสงฆ์ในโรงเรียนพระปริยัติธรรมทั่วประเทศอีก 117 ล้านบาทด้วย” การส่งเสริมพระศาสนาในอดีต – ตามแนวคิด พระธรรมราชา ทศพิธราชธรรม หลักการในเรื่องธรรมศาสตร์/ราชศาสตร์ กรณีสันติอโศก กับกรณีวัดพระธรรมกาย 6 Belief

การเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายกับศาสนา กฎหมายคือข้อกำหนดของสังคม ซึ่งมีสภาพบังคับโดยใช้อำนาจรัฐเข้ามาดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม ศาสนาคือความเชื่อตามคำสอน วางแนวทางความประพฤติของคน เป็นเครืองยึดเหนี่ยวจิตใจ เป็นสิ่งประดิษฐสร้างทางสังคมเหมือนกัน ธรรม สิทธิ / ศีล หน้าที่ ศาสนาใช้ความศรัทธาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน กฎหมายใช้กลไกของรัฐเป็นตัวกำหนดสภาพบังคับ 6 Belief

อิทธิพลของศาสนา ต่อกฎหมาย ความเชื่อทางศาสนามีอิทธิพลต่อการกำหนดโครงสร้างและวัฒนธรรมทางสังคม (และกฎหมายก็เป็นเครื่องมือในการบังคับใช้) ตัวอย่าง ศาสนามีส่วนช่วยขัดเกลาให้คนในสังคมอยู่ในกรอบของกฎหมาย ความคิดพื้นฐานต่อการปกครองรัฐ เช่น อำนาจศักดิ์สิทธิ, ทฤษฎีเทวสิทธิ์ การปกครองโดยทศพิธราชธรรม การมีบุญาธิการ การแข่งบุญแข่งวาสนา การกำหนดโครงสร้างชนชั้นในสังคม ≠ความเสมอภาคเท่าเทียมกัน 6 Belief

อิทธิพลของศาสนา ต่อกฎหมาย ความคิดที่มีอิทธิพลเหนือวัฒนธรรมและแนวปฏิบัติ เช่น ความกตัญญู (ระบบการเลือกตั้ง! ระบบอุปถัมภ์ !) ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การมีน้ำใจ (การคอรับชั่น ! กฎหมายจราจรกับทางจักรยาน !) การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (การบริจาคเงินให้แก่องค์กรสิทธิมนุษยชน) กรรม และวัฏสังสาร /การเคารพต่อธรรมชาติ (สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ) ความโลภ การยึดเอาของที่ไม่ใช่ของตน โดยไม่พึงมีพึงได้ (การปรามปรามคอรับชั่น) จบ ☃ 6 Belief

สิทธิและเสรีภาพของบุคคล กรณีในสิทธิและเสรีภาพกับความคิดทางศาสนา ส่วนใหญ่ กฎหมายจะกำหนดห้ามการกระทำบางอย่าง ที่มีฐานความเชื่อทางศาสนา บางครั้งสังคมเข้ามาก้าวก่ายเรื่องส่วนตัวของบุคคล Cloning & stem cell research in human? การขายอวัยวะ? Euthanasia or Mercy killing? การทำแท้ง Same sex marriage? การค้าประเวณี 6 Belief

มุมมองของคำสอนทางศาสนาต่อสิทธิและเสรีภาพของบุคคล การทำวิจัยในมนุษย์ human cloning & stem cell research จริยธรรมของการวิจัย และการพัฒนาทางการแพทย์ และระบบการผลิตในสังคม ข้อถกเถียงอยู่ที่สิ่งสร้างใหม่ที่เกิดขึ้นจากการทดลองเป็นสิ่งมีชีวิต (คน) หรือไม่? หากทดลองเสร็จสิ้น จะทำลายสิ่งนั้น/หรือแม้แต่จะเก็บไว้ โดยไม่กระทบต่อศีลธรรมได้อย่างไร!! (คลิกขวาตรงlinkที่ให้มาด้านล่าง แล้วเลือกopen hyperlink) http://www.scu.edu/ethics/publications/cloning.html http://healthsci.swu.ac.th/healthsci/images/stories/somsong.pdf http://www.vcharkarn.com/varticle/37286 https://www.michaeljfox.org/ 6 Belief

Cloning & stem cell research in human ทำไมจึงมีงานวิจัยในด้านนี้? เราจะคิดอย่างไร หากใช้สิ่งที่เกิดจากการโคลนนิ่งมาใช้เป็น “อะไหล่” ของมนุษย์? สิ่งนั้นจะถือเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่? จะเป็นการละเมิดสิ่งนั้นหรือไม่หากเรานำมาใช้เป็น “อะไหล่”? การดัดแปลงพันธุกรรม สร้างพืช/สัตว์ใหม่ ถือเป็นการอหังการของคนในการสวมบทบาทของพระเจ้าหรือไม่? หรือเป็นการฝืนธรรมชาติหรือไม่? หากต้องชั่งน้ำหนักระหว่างโคลนนิ่งของสิ่งมีชีวิตกับคนที่ป่วยและต้องการหาทางเพื่อรักษาให้พ้นจากโรคภัยไข้เจ็บ จะคุ้มกันหรือไม่? 6 Belief

การขายอวัยวะ? ในการจัดการต่อเนื้อตัวร่างกายของควรเป็นสิทธิของผู้นั้นโดยแท้ใช่หรือไม่? หากมีผู้บริจาคไตให้แก่ญาติของเขาได้ ทำไมกฎหมายจึงห้ามไม่ให้มีการขายอวัยวะ? การใช้ร่างกายของนักโทษที่ถูกประหารชีวิตมาช่วยเหลือผู้ป่วยที่ต้องการเปลี่ยนอวัยวะเป็นสิ่งที่สมควรกระทำหรือไม่? การเปิดโอกาสให้ผู้นั้นตัดสินใจเองว่าจะเลือกขายอวัยวะบางส่วนของตัวเขาเอง เพื่อแลกกับการอยู่รอด ผิดตรงไหน? ทำไมสังคมจึงต้องเข้ามาจำกัด? การกระทำดังกล่าวกระทบต่อจริยธรรมของสังคมอย่างไร? หากมีวัยรุ่นขายไตข้างหนึ่งของเขาเพื่อเอาเงินไปซื้อของใช้ล่ะ? http://www.oknation.net/blog/print.php?id=94788 6 Belief

Euthanasia การตัดสินใจให้ผู้ป่วยหนักและไม่มีทางรักษาให้หายได้ ได้ตายอย่างสงบควรเป็นอำนาจการตัดสินใจของใคร? แพทย์ หรือญาติของผู้ป่วย? หากปล่อยให้มีการตัดสินใจในการฉีดยาให้ผู้ป่วยขั้นสุดท้ายได้ตายอย่างสงบ ต้องมีข้อพิจารณาถึงผลดี/ผลเสียอย่างไร? การตัดชีวิตเป็นสิ่งที่ขัดต่อหลักศาสนา 6 Belief

Same sex marriage กฎหมายไม่ได้ห้าม เพียงแต่ไม่รับรองการแต่งงานนั้น การมองสถาบันครอบครัวเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่นการให้พระบาทหลวงเป็นผู้ทำพิธีแต่งงาน และการหย่าร้างเป็นสิ่งไม่พึงประสงค์ในหมู่ของผู้เคร่งศาสนา เนื่องจากการแต่งงานนำไปสู่การสร้างครอบครัว มีลูกหลาน ซึ่งจะเป็นการก่อกำเนิดมนุษย์ อันเป็นสิ่งประเสริฐ (productive) การแต่งงานในเพศเดียวกันจึงขัดแย้งกับแนวคิดข้างต้น เนื่องจากไม่นำไปสู่การมีลูกมีหลาน การไปแต่งงานที่อื่นซึ่งยอมรับการจดทะเบียนสมราของคนเพศเดียวกัน ไม่แก้ปัญหา เพราะเมื่อคู่สมรสกลับมาที่ภูมิลำเนาซึ่งไม่มีการยอมรับการแต่งงานนั้นก็ไม่ก่อให้เกิดผลทางกฎหมายแต่อย่างใด 6 Belief

การทำแท้ง การทำแท้งต่างจากการฆ่าคนอย่างไร? ยังไม่ใช่ “บุคคล” ตามกฎหมาย จึงไม่ผิดฐานฆ่าคนตาย และต้องกำหนดให้เป็นอีกฐานความผิดต่างหาก หญิงทำให้ตัวเองแท้ง และผู้ที่ทำให้ผู้หญิงนั้นแท้ง ใครเป็นผู้ตัดสินใจ? ทำไมจึงมุ่งไปที่ผู้หญิงเท่านั้น แล้วผู้ชายล่ะ? มีเหตุยกเว้น?  การตั้งครรภ์ทีมาจากการข่มขืน หรือการตั้งครรภ์นั้นจะทำให้หญิงนั้นมีอันตราย 6 Belief

ทำไมกฎหมายจึงห้ามการทำแท้ง? กฎหมายกำหนดโทษ การขยายปัญหานี้สู่สังคม Life is suffering! “great suffering or die!” พิจารณาสืบเนื่องกับเรื่องกฎหมายกับเพศภาวะ http://www.bbc.co.uk/ethics/abortion การมีอำนาจต่อรองที่ไม่เท่าเทียมกันของชาย-หญิง การทำแท้งไม่ได้ผิดกฎหมายในทุกประเทศ เช่นใน สหรัฐอเมริกา (Roe v. Wade) และประเทศจีน (One Child Policy) 6 Belief

การค้าประเวณี การค้าประเวณีผิดหลักศีลธรรมของศาสนาหรือไม่? การพิจารณาร่วมกับประเด็นเพศภาวะ ทำไมสังคมเข้ามากำกับการใช้เนื้อตัวร่างกายของคน? การค้ามนุษย์ผิดตรงไหน? ทำไมกฎหมายจึงเข้ามาจำกัด การค้าประเวณีโดยสมัครใจ? 6 Belief

สรุป การที่กฎหมายเข้ามาแทรกแซงการกระทำของคนในสังคม ที่แม้เป็นเรื่องส่วนตัวของผู้นั้น แต่หากขัดต่อหลักอันดี หรือความสงบสุขของสังคม ก็จะมีแนวคิดเข้ามาจำกัดได้ จบ ☃ 6 Belief