ลอจิกเกต (Logic Gate).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตารางค่าความจริง คือ อะไร
Advertisements

การทดลองที่ 5 วงจรนับ (Counter)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
Combination Logic Circuits
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ลิมิตและความต่อเนื่อง
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
Hashing Function มีหลายฟังก์ชั่น การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล ตัวอย่างของฟังก์ชั่นแฮชมีดังนี้ 1. Mod คือการนำค่าคีย์มา mod ด้วยค่า n ใด.
เกตทางตรรกและพีชคณิตแบบบูล
Functional programming part II
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มิถุนายน ๒๕๕๒
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
Object-Oriented Analysis and Design
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Boolean Algebra วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Combination Logic Circuit
Basic Logic Gates วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักสัญญาณดิจิตอล
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
Flip-Flop บทที่ 8.
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
เกท (Gate) AND Gate OR Gate NOT Gate NAND Gate NOR Gate XNOR Gate
แผนผังคาร์โนห์ Kanaugh Map
ทฤษฎีของพีชคณิตบูลีน (Boolean algebra laws)
ข้อสังเกตและข้อผิดพลาด ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
การเขียนรายงานการวิจัย
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
Data Modeling Chapter 6.
System Analysis and Design
วงจรนับ (COUNTER CIRCUIT)
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
หลักการแก้ปัญหา.
Gate & Circuits.
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
(Demonstration speech)
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลอจิกเกต (Logic Gate)

บทนำ วงจรดิจิตอลที่มีอินพุตมากกว่าหรือมีหนึ่งอินพุต และมีเอาท์พุตเพียงเอาท์พุตเดียว เราเรียกวงจรนี้ว่า ลอจิกเกต ในทางปฏิบัติอุปกรณ์ที่ใช้แทนตัวกระทำทางลอจิก ก็คือ เกต ซึ่งประกอบขึ้นด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีความคิดพื้นฐานมาจากวงจรสวิตชิ่ง เกตพื้นฐานมี 3 ชนิด ได้แก่ อินเวอร์เตอร์(Inverter or NOT Gate), ออร์เกต (OR Gate), และแอนด์เกต (AND Gate) สามารถที่จะใช้เกตต่าง ๆ เหล่านี้สร้างเป็นวงจรลอจิกหรือระบบดิจิตอลต่าง ๆ

บทนำ เกตแต่ละชนิดจะมีคุณลักษณะเฉพาะตัว โดยใช้การแสดงด้วยสิ่งต่อไปนี้ คุณลักษณะที่ 1 สัญลักษณ์ (symbol) เกตแต่ละชนิดจะมีสัญลักษณ์แตกต่างกัน มีขาที่แสดงอินพุตและเอาท์พุต เพื่อนำมาใช้เขียนวงจรได้ง่ายขึ้น คุณลักษณะที่ 2 ตารางความจริง (truth table) เป็นตารางที่ใช้แสดงข้อมูลของอินพุตว่าเป็นลอจิก “0” หรือ “1” จึงจะทำให้เอาท์พุตเป็นลอจิก “0”หรือ “1” ดังนั้น เกตแต่ละชนิดจะมีตารางความจริงที่แสดงคุณสมบัติของเกตเพื่อบอกการทำงาน จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าตารางการทำงาน (function table)

บทนำ คุณลักษณะที่ 3 สมการลอจิก (logic equation) เป็นสมการของพีชคณิต- บูลลีน ที่ใช้อธิบายการทำงานของเกตแต่ละชนิด หรือวงจรลอจิก คุณลักษณะที่ 4 ไดอะแกรมเวลา (timing diagram) หรือรูปคลื่น (wave form) ใช้อธิบายการทำงานของเกตหรือวงจร ตามช่วงเวลาที่ผ่านไป เพื่อให้ทราบว่าในเวลาที่ผ่านไปลอจิกทางอินพุต กับลอจิกทางเอาท์พุตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร การอธิบายการทำงานของลอจิกเกตจะใช้สัญลักษณ์ของเกต ตารางความจริงและ ไดอะแกรมเวลาประกอบการอธิบายเกตพื้นฐาน ดังนี้

เกตพื้นฐาน (Gate) Inverter or NOT Gate ภาพที่ 1 อินเวอร์เตอร์หรือนอตเกต (ก) สัญลักษณ์ (ข) ตารางความจริง (ค) ไดอะแกรมเวลา

ภาพที่ 2 ออร์เกต (OR gates) (ก) สัญลักษณ์ (ข) ตารางความจริง (ค) ไดอะแกรมเวลา

เกตพื้นฐาน (Gate) AND Gate ภาพที่ 3 แอนด์เกต (AND Gate) (ก) สัญลักษณ์ (ข) ตารางความจริง (ค) ไดอะแกรมเวลา

ตัวอย่างที่ 1 ให้เขียนตารางความจริงของวงจรลอจิกในภาพ A B X 1 วิธีทำ จากภาพเป็นออร์เกต 2 อินพุต แต่ละอินพุตต่ออยู่กับเอาท์พุตของอินเวอร์เตอร์ ดังนั้นความเป็นไปได้ของอินพุตในตารางความจริงจะเท่ากับ 22 = 4 จะต้องเรียงลำดับเลขฐานสองไป 4 จำนวนนั่นคืออินพุต AB จะเท่ากับ 00, 01, 10 และ 11

ตัวอย่างที่ 2 ให้เขียนตารางความจริงของวงจรลอจิกในภาพ A B C X 1 ความเป็นไปได้ของอินพุต ในตารางความจริงจะเท่ากับ 23 = 8