ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การจัดทำงบประมาณ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
หมวด2 9 คำถาม.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. ศ. ๒๕๕๐ พ. ร. บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ. ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕๓ / ๑ ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
หลักการเขียนโครงการ.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
การเขียนโครงการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน สำนักงบประมาณ

     ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักในการบริหารโครงการภาครัฐ สศช. สงป. คณะกรรมการ สศช. สงป. กพร. จังหวัด หน่วยงานประจำ จังหวัด  หน่วยงาน ผู้ริเริ่มโครงการ ชุมชน นโยบาย ภาคเอกชน กลุ่มเป้าหมาย ผู้ใช้ผลผลิต โครงการ  ผู้ได้รับประโยชน์อื่นๆ จากโครงการ ผู้วิเคราะห์ / พิจารณา โครงการ  โครงการ  ผู้ได้รับประโยชน์อื่นๆ จากโครงการ ผู้เสียประโยชน์ จากโครงการ  ผู้ได้รับผลกระทบ โครงการ ผู้ตรวจสอบ ประเมินผล ผู้เสียประโยชน์ จากโครงการ ผู้ตรวจราชการ ผู้ดำเนิน โครงการ สตง. กธจ. ผู้รับจ้าง / ผู้รับเหมา จังหวัด ส่วนราชการ / หน่วยงาน อปท.และชุมชน คตป.

ขั้นตอนหลักในการวางแผนโครงการ ทบทวน ริเริ่ม วางแผน วิเคราะห์ สงป. กนพ. รธน. / นโยบายรัฐบาล / แผนบริหารราชการแผ่นดิน / แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ เห็นชอบ ให้ความ เห็นชอบ ให้ความเห็น ชอบคำขอ รธน. / นโยบายรัฐบาล / แผนบริหารราชการแผ่นดิน / แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ กพจ. แผนพัฒนา / แผนปฏิบัติงาน จัดทำคำขอ งบประมาณ เห็นชอบ     หน่วยงานริเริ่ม โครงการ ที่มา / ความต้องการ ขอบเขต ศึกษาความเป็น ไปได้และลักษณะ การดำเนินโครงการ จัดทำ คำขอ งปม. Budget Decision เริ่มโครงการ ความต้องการ โครงการใหม่ จัดทำ รายละเอียด โครงการ ตรวจสอบประเมินผล การดำเนินโครงการ (ถ้ามี)/โครงการ ที่คล้ายคลึงกัน ริเริ่มเบื้องต้น ยืนยัน ความต้องการ กลุ่มเป้าหมายและ ผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้น ความต้องการผู้ใช้ ประโยชน์โครงการ กลุ่มเป้าหมาย ผู้มีส่วนได้เสีย ความต้องการผู้ใช้ ประโยชน์โครงการ ระบุ / ตรวจสอบ ความต้องการกลุ่ม เป้าหมายและผล กระทบที่อาจเกิดขึ้น ใช้ประโยชน์ผลผลิต โครงการเติม ผลกระทบที่เกิดกับ ผู้มีส่วนได้เสีย ผลกระทบที่เกิดกับ ผู้มีส่วนได้เสีย สำนักงานจังหวัด ตรวจสอบ / ประเมินผลการ ดำเนินงานโครงการ พิจารณาการใช้ งบประมาณเบื้องต้น สำหรับความเป็นไปได้ ในการริเริ่มโครงการ วิเคราะห์รายละเอียด ในมิติต่างๆ วิเคราะห์ความ เหมาะสม การจัดสรร งบประมาณ ผู้ดำเนินการ / ผู้รับจ้าง ปัญหา อุปสรรค และการแก้ไข สำนักงบประมาณ

ขั้นตอนหลักในการวางแผนโครงการ ดำเนินโครงการ ใช้ประโยชน์โครงการ กนพ. ทำสัญญาบริหารโครงการ เห็นชอบแผน รายงานผล กพจ. ผู้ว่าการ ผลผลิต หน่วยงาน (ฝ่าย / สำนัก) สำนักงานจังหวัด   จัดทำแผนการ ปฏิบัติการและ แผนงบประมาณ ดำเนินตาม แผนปฏิบัติการและ แผนงบประมาณ โครงการ เสร็จตามแผน ? บริหารจัดการ เริ่มโครงการ สิ้นสุด โครงการ ความสอดคล้อง ของทั้ง 2 แผน ผลลัพธ์ กลุ่มเป้าหมาย ผู้มีส่วนได้เสีย ดูแลผู้มีส่วนได้เสีย ที่ได้รับผลกระทบ ผลกระทบ / การเปลี่ยนแปลง กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ ผลผลิตโครงการ ดูแลผู้มีส่วนได้เสีย ที่ได้รับผลกระทบ กลุ่มยุทธศาสตร์ อนุมัติแผน ติดตามความคืบหน้า ตามแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ ติดตาม/ประเมินผล ผลผลิต การใช้งาน ผลลัพธ์ และผลกระทบ ผู้ดำเนินการ / ผู้รับจ้าง ดำเนินการ รับประกัน/ดูแลรักษา สนับสนุนการบำรุงรักษา (ถ้ามี)

การจัดการงบประมาณ (การวางแผนโครงการ) ทบทวน / ตรวจสอบ / ประเมินผล การดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ทบทวน / ตรวจสอบสถานภาพโครงการ ทบทวน / ตรวจสอบผลผลิต / ผลลัพธ์ / ผลกระทบที่เกิดขึ้น พิจารณาที่มาของโครงการ กลุ่มเป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิเคราะห์ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ และความเหมาะสมเชิงเศรษฐกิจและสังคม พิจารณาศักยภาพและความพร้อมของโครงการ ริเริ่มโครงการใหม่ และการวิเคราะห์เบื้องต้น พิจารณาขอบเขตของโครงการ วิเคราะห์ผลผลิต / ผลลัพธ์และหรือผลกระทบ วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต และทรัพยากรที่ต้องใช้การดำเนินโครงการ วิเคราะห์ความคุ้มค่าและผลประโยชน์ของโครงการ การวิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดลำดับความสำคัญของโครง วิเคราะห์ต้นทุนและทบทวน / เปรียบเทียบกับโครงการอื่น ประเมินความคุ้มค่าและผลประโยชน์ ผลกระทบที่จะได้รับ การวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณ พิจารณาความคืบหน้าตามแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ ทบทวน / การปรับเปลี่ยนแผน (งาน งบประมาณ และระยะเวลา) สรุปปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไข และบทเรียนจากการดำเนินโครงการ ติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลผลิตและกระบวนการบริหารจัดการผลผลิต ประเมินผลลัพธ์และติดตามผลกระทบที่เกิดขึ้น สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้และบทเรียนจากการใช้ ประโยชน์โครงการ ประเมินผลการใช้งานและ การติดตาม / ปรับปรุง / แก้ไข

ทบทวน / ตรวจสอบ / ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ทบทวน / ตรวจสอบสถานภาพของโครงการ โครงการเบี่ยงเบนตามแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณหรือไม่ ? ทบทวน / ตรวจสอบผลผลิต / ผลลัพธ์ / ผลกระทบที่เกิดขึ้น โครงการสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ เป็นรูปธรรมอย่างไร ? ทบทวน / ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์จาก ผลผลิตหรือไม่ ? ทบทวน / ตรวจสอบ / ประเมินผลปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข อะไรมักเป็นปัญหาและ อุปสรรคของโครงการ ? ตัดสินใจ โครงการมีความคุ้มค่าในการดำเนิน โครงการต่อเนื่องหรือไม่ ? มีทางเลือกอย่างไร ? ดำเนินการ โครงการ ต่อเนื่อง ขยายผล โครงการ ยกเลิก โครงการ ติดตาม และเฝ้าดู

ริเริ่มโครงการ พิจารณาที่มาของความต้องการ ริเริ่มแนวคิดโครงการ ตัดสินใจ ความต้องการ โครงการใหม่ พิจารณาที่มาของความต้องการ โครงการที่มีมาจากปัญหาและความต้องการที่แท้จริง ของกลุ่มเป้าหมาย / ประชาชนหรือไม่ ? จำเป็นต้องศึกษาความ เป็นไปได้ของโครงการ ริเริ่มแนวคิดโครงการ ความจำเป็น การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ? พิจารณาลักษณะของโครงการ วิธีการและรูปแบบในการดำเนิน โครงการให้บรรลุเป้าหมาย ? ระบุกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ใครคือผู้ใช้ประโยชน์ กลุ่มเป้าหมาย / ประโยชน์ หรือไม่ ? ระบุเป้าหมาย ผลผลิต และคาดการณ์ผลลัพธ์ หรือผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและ / หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่มีอยู่แล้ว โครงการส่งผลให้เกิดผลกระทบ ทั้งเชิงบวกและลบที่ยอมรับได้หรือไม่ ?

ริเริ่มโครงการ (ต่อ) ระบุเป้าหมาย ผลผลิต และคาดการณ์ผลลัพธ์ ระบุเป้าหมาย ผลผลิต และคาดการณ์ผลลัพธ์ หรือผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและ / หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่มีอยู่แล้ว โครงการนำไปสู่ความสำเร็จตามนโยบาย / ยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ (ระดับชาติ ระดับกระทรวง และระดับพื้นที่) อย่างไร ? วิเคราะห์กระบวนการ และแนวคิดใหม่ (Log frame) เรื่องความสอดคล้อง (SWOT) ผลกระทบในมิติเชิงยุทธศาสตร์ วิเคราะห์ความเหมาะสมทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความมั่นคง (Pre – Analysis) โครงการให้ผลตอนแทนทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความมั่นคงที่คุ้มค่าได้อย่างไร ? พิจารณาศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่ พื้นที่ใด ? ที่มีความเหมาะสม ความพร้อม และมีปัญหาน้อยที่สุด ระบุทางเลือกอื่นและ วิเคราะห์ความเหมาะสมของเทคโนโลยี มีทางเลือกอื่นที่เหมาะสมกว่า ดีกว่า และคุ้มค่ากว่า หรือไม่ ?

 ริเริ่มโครงการ (ต่อ) พิจารณาความต้องการของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ความพร้อมและความเพียงพอของปัจจัย ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ วิเคราะห์ศักยภาพและความเหมาะสมของหัวหน้า โครงการและทีมงาน หัวหน้าโครงการและทีมงานมีความมุ่งมั่น และมีขีดความสามารถมากน้อยเพียงใด ? วิเคราะห์ความเหมาะสมของระยะเวลา กระบวนการ และวิธีดำเนินการเบื้องต้น ความเป็นไปได้ของกระบวนการ และวิธีการดำเนินงาน ตัดสินใจ  กพจ. เห็นชอบ

วิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ ขอบเขตของโครงการครอบคลุมตามที่มา และความต้องการที่แท้จริงของโครงการหรือไม่ ? พิจารณาขอบเขตของโครงการ วิเคราะห์โครงสร้างผลผลิต/ ผลลัพธ์/และหรือผลกระทบของโครงการ และประโยชน์ต่อสาธารณชน ผลผลิตของโครงการนำไปสู่ผลประโยชน์ที่ได้รับ ด้านต่างๆ (ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง และด้านคุณภาพชีวิต) หรือไม่ ? พิจารณาความก้าวหน้าและขั้นตอนการดำเนินงานโดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกฎ ข้อบังคับ ระเบียบ กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ที่ส่งผลต่อโครงการและ ต้องนำมาพิจารณามีอะไรบ้าง ? กระบวนการนำส่งผลผลิตเป็นไปได้ / เหมาะสมหรือไม่ ? วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต พื้นที่โครงการมีศักยภาพ และไม่ส่งผลกระทบ เชิงลบต่อคนในพื้นที่ ? วิเคราะห์ศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่

วิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ (ต่อ) วิเคราะห์แผนและความพร้อมในการใช้ทรัพยากรบุคลากร การประมาณราคา และทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดำเนินกิจกรรม มีทรัพยากรที่เพียงพอ และพร้อมใช้งานหรือไม่ ? วิเคราะห์และทบทวนความคุ้มค่าของโครงการเน้นการพิจารณาความน่าเชื่อถือของสมมติฐานและผลประโยชน์โครงการทางเศรษฐกิจ โครงการนำไปสู่ผลประโยชน์ที่เหมาะสมในทุกด้าน (ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง และด้านคุณภาพชีวิต) และเป็นที่ยอมรับแก่ทุกฝ่าย วิเคราะห์เทคโนโลยีที่เหมาะสมแหล่งที่มาของเทคโนโลยีความทันสมัยของเทคโนโลยีและถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมายผู้ใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีที่เหมาะสมมีความเป็นไปได้ และ ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าที่สุด วิเคราะห์แผนการดำเนินโครงการ Milestone หลักการส่งต่อ / เชื่อมโยง และความเสี่ยง และแผนการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น อะไร ? เป็น Milestone วิกฤติที่จำเป็นต้องกำหนด และความเสี่ยงใด ? ส่งผลกระทบต่อโครงการอย่าง มีนัยสำคัญ ตัดสินใจ  กนพ. เห็นชอบคำขอ

 การวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณ จัดลำดับความสำคัญของโครงการตามมิติต่างๆ (เปรียบเทียบในระดับหน่วยงาน) ข้อมูลโครงการครบถ้วน เพียงพอสำหรับ การตัดสินใจหรือไม่ ? วิเคราะห์ต้นทุนและทบทวน / เปรียบเทียบกับโครงการอื่นในลักษณะเดียวกัน ต้นทุนของโครงการตลอดจนวัฏจักรโครงการ คุ้มค่าหรือไม่ ? ประเมินความคุ้มค่า ผลประโยชน์ ผลกระทบที่จะได้รับ / เกิดขึ้น การลงทุนในโครงการใด ? ที่ให้ผลตอบแทน และผลประโยชน์ที่เหมาะสมที่สุด พิจารณาจัดสรรงบประมาณตามความเหมาะสม ผลตอบแทนด้านสังคมและความมั่นคงมีความ น่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับแก่ทุกฝ่ายอย่างไร ? ตัดสินใจ  สงป. เห็นชอบ

ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการ จัดทำและอนุมัติแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ แผนปฏิบัติงานและแผนงบประมาณของโครงการ มีความเหมาะสมและสอดคล้องกันหรือไม่ ? พิจารณาความคืบหน้า ตามแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ การดำเนินโครงการเป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน และแผนงบประมาณ หรือไม่ ? ทบทวน / การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ แผนงบประมาณ และระยะเวลาดำเนินงาน การปรับเปลี่ยนแผนงานเพื่อให้ได้ความสำเร็จ ตามเป้าหมาย รายงานผลความก้าวหน้า สรุปปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไขปัญหาและบทเรียน อะไร ? เป็นปัญหา อุปสรรค ที่ต้องตระหนัก ระหว่างการดำเนินโครงการ

ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม / ปรับปรุง / แก้ไข ประเมินผลผลิต และกระบวนการบริหารจัดการผลผลิต ใคร ? เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหาร จัดการ / ดูแล / บำรุงรักษาผลผลิโครงการ ประเมินผลลัพธ์ และความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิตถูกใช้ประโยชน์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ ? ติดตามผลกระทบ / การเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นทั้งทางบวกและลบ กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้ประโยชน์ ผลผลิตด้วยความพึงพอใจหรือไม่ ? สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้ไข และบทเรียน โครงการส่งผลให้เกิดผลกระทบ ทั้งเชิงบวกและลบที่ยอมรับได้หรือไม่ ?