การเขียนบทความ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
หลักการบันทึกข้อความ
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
• เป็นความจริง เชื่อถือได้ • แตกต่างจากความรู้ เดิม • ใช้ประโยชน์ได้ • เหมาะกับบริบทและ ความต้องการ ของสังคม • เป็นสากล • นำไปสู่การพัฒนา หรือต่อยอด.
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รายละเอียดของการทำ Logbook
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
Thesis รุ่น 1.
Seminar in computer Science
แนวการเขียนยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคเหนือ เชียงใหม่ ลำพูน
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ธุรกิจ จดหมาย.
การจัดกระทำข้อมูล.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการวิจัย
เอกสารประกอบการสอน การรวบรวมใบความรู้เป็นรูปเล่ม
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การเขียนรายงานการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การเขียนที่ดีทำอย่างไร
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การสร้างสรรค์บทละคร.
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
การศึกษาค้นคว้า และการทำรายงาน
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การเขียนรายงาน.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนบทความ

นิยาม งานเขียนที่เป็นความเรียงประเภทหนึ่ง ซึ่งมุ่งเสนอความเห็นหรือทัศนะในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง หรือมุ่งโน้มน้าวใจผู้อ่าน โดยมีหลักฐาน ข้อมูลอ้างอิง และผู้เขียนต้องแทรกข้อคิด ความเห็นในเชิงวิจารณ์หรือสร้างสรรค์ไว้ด้วย

ลักษณะเฉพาะของบทความ เป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจของผู้อ่านส่วนใหญ่ มีสาระ ให้ความรู้ มีข้อมูลหลักฐานน่าเชื่อถือ มีข้อคิดเห็น มุมมองของผู้เขียนที่มีต่อเรื่องนั้น เนื้อหาสาระเหมาะกับผู้อ่านที่มีการศึกษา มีลีลาการเขียนที่ชวนอ่าน สร้างความเพลิดเพลิน กระตุ้นให้เกิดความคิดไปกับเรื่องที่ผู้เขียนนำเสนอ

วัตถุประสงค์ของบทความ เพื่ออธิบาย ชี้แจง หรือให้ความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพื่อบรรยายให้ผู้อ่านเห็นภาพไปตามสิ่งที่ผู้เขียนนำเสนอ เพื่อโน้มน้าว ชักจูงใจผู้อ่าน เพื่อแสดงความเห็นในเชิงอภิปรายต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมขณะนั้น และชี้นำให้ผู้อ่านเห็นด้วยหรือปฏิบัติตามที่ผู้เขียนเสนอ

บทความวิชาการ เนื้อหาแสดงข้อเท็จจริง ข้อความรู้ทางวิชาการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ อาจจะเสนอเฉพาะเนื้อหาสาระทางวิชาการหรือเสนอทั้งเนื้อหาสาระข้อเท็จจริง และแสดงความคิดเห็นในเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ก็ได้ หรืออาจเสนอผลการวิจัย (บทความวิจัย)

ลักษณะของบทความที่ดี มีเอกภาพ มีสารัตถภาพ มีสัมพันธภาพ มีความสมบูรณ์

หลักการเขียนบทความ การเลือกเรื่อง (สนใจ น่าสนใจ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ เลือกเรื่องที่ผู้เขียนมีความรู้ มีประสบการณ์ สามารถหาแหล่งค้นคว้า หรือหาข้อมูลมานำเสนอในงานเขียน เลือกเรื่องที่มีความยาว ความยาก ความง่าย พอเหมาะกับความสามารถของผู้เขียน) การกำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดแนวคิดสำคัญ หรือประเด็นสำคัญ หรือแก่นเรื่อง การวางโครงเรื่อง โดยเป็นการจัดลำดับเนื้อหา ความคิด และข้อโต้แย้งให้ครบถ้วน

หลักการเขียนบทความ(ต่อ) การเรียบเรียงเนื้อหา คือ ขั้นตอนของการลงมือเขียนตามโครงเรื่องที่ได้วางไว้ โดยนำเสนอประเด็นหลักให้ชัดเจน แล้วจึงเพิ่มประเด็นย่อยและตัวอย่างเพื่อความชัดเจน ทบทวนสาระของเรื่องว่าตรงกับชื่อเรื่องที่ ตั้งไว้ และครอบคลุมหรือไม่

โครงสร้างของบทความ ชื่อเรื่อง ความนำ เนื้อเรื่อง การแสดงความเห็น ความสรุป

ส่วนประกอบ (2-3 หน้า) ส่วนที่ 1 : ชื่อเรื่อง, ประเด็นสำคัญ ส่วนที่ 2 : เนื้อเรื่อง (นำประเด็นสำคัญมาอธิบายและหาเหตุผล ประกอบ ได้แก่ สถิติ , หลักฐานเชิงประจักษ์ ส่วนที่ 3 : สรุป (นำส่วนที่ 1 และ 2 มาสรุปให้เป็นประเด็นใหม่ คือ ข้อค้นพบที่ได้จากการเขียน 4-5 บรรทัด) (2-3 หน้า)