เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน รองศาสตราจารย์ดร.ภาวดี ทองอุไทย กันยายน 2552
สองบทบาทหลักของรัฐ จ้างแรงงานโดยตรง ออกกฎหมาย และ กฎระเบียบต่างๆ หน้าที่จัดให้มีสินค้าสาธารณะ เงินโอน เก็บภาษี ออกกฎหมาย และ กฎระเบียบต่างๆ กฎหมายค่าจ้างขั้นต่ำ Minimum wage law ควบคุมการเอาเปรียบ ในกรณีของการผูกขาด กฎระเบียบความปลอดภัยในการทำงาน การออกใบอนุม้ติประกอบอาชีพ ภาษีศุลกากร โควต้า
รัฐบาลในฐานะเป็นผู้สร้างค่าเช่าทางเศรษฐกิจ ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ: ความแตกต่างระหว่าง ค่าจ้างที่จ่ายให้แก่คนงานแต่ละคน และ ค่าจ้างที่พอดีกับที่จะทำให้เขาอยู่ในงานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน เส้นอุปทานแรงงานของตลาด = เส้นต้นทุนค่าเสียโอกาสหน่วยสุดท้าย สะท้อนมูลค่าของทางเลือกอื่นที่ดีที่สุดของคนงานแต่ละคน งานอื่นในตลาดแรงงาน การผลิตในครัวเรือน การพักผ่อน
คนงาน และ กลุ่มอาชีพต่างๆ แสวงหาค่าเช่า rent seekers เจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นผู้ตอบสนองสร้างค่าเช่า rent providers แต่...ค่าจ้างที่สูงขึ้นสำหรับคนงานกลุ่มหนึ่งอาจจะทำให้ ค่าจ้างลดลงสำหรับคนงานกลุ่มอื่นๆ ราคาสินค้าสูงขึ้นสำหรับผู้บริโภค เงินปันผลลดลงสำหรับผู้ถือหุ้น
ผลกระทบของค่าจ้างขั้นต่ำ ในกรณีที่ครอบคลุมทุกสาขา แรงงานทุกคน ค่าจ้างขั้นต่ำที่สูงกว่าระดับดุลยภาพ การว่างงาน คนงานเดิมจะถูกปลด จะมีคนงานใหม่เข้าสู่ตลาดแรงงาน อัตราการว่างงานขึ้นอยู่กับ ระดับค่าจ้างขั้นต่ำ ความยืดหยุ่นของอุปทาน และ อุปสงค์แรงงาน
ในกรณีที่มีสองสาขา แต่ บังคับใช้แต่เพียงสาขาเดียว แรงงานในสาขาที่ไม่มีการบังคับใช้ จะได้ค่าจ้างระดับแข่งขัน หลังจากมีการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ ผู้ที่ตกงาน สาขาที่ไม่บังคับใช้ เส้นอุปทาน เคลื่อนไปทางขวา ค่าจ้างลดลง คนงานในสาขาที่ไม่บังคับใช้ อาจออกจากงานเดิม สมัคร/รองานในสาขาที่มีค่าจ้างขั้นต่ำ เพราะค่าจ้างสูงกว่า เส้นอุปทานเคลื่อนไปทางซ้าย ค่าจ้างสูงขึ้น
ลดต้นทุนของการหาข้อมูล การตัดสินใจซื้อเป็นไปอย่างเหมาะสม การจดทะเบียนอาชีพ แพทย์ ทนายความ ถ้าทำงานผิดพลาด สร้างความเสียหายแก่ผู้บริโภคอย่างร้ายแรง รัฐต้องดูแลคุ้มครอง ลดต้นทุนของการหาข้อมูล การตัดสินใจซื้อเป็นไปอย่างเหมาะสม หรือ กลุ่มอาชีพนั้นๆอาจเรียกร้องให้มีการจดทะเบียน จำกัดอุปทาน สร้างค่าเช่าทางเศรษฐกิจให้เกิดกับผู้ที่มีใบทะเบียนอยู่แล้ว
ภาษีศุลกากรที่เก็บจากสินค้าเข้า และการกำหนดโควตาสำหรับสินค้าเข้า ภาษีศุลกากร โควต้า ภาษีศุลกากรที่เก็บจากสินค้าเข้า และการกำหนดโควตาสำหรับสินค้าเข้า สร้างค่าเช่าทางเศรษฐกิจให้คนงาน บางกลุ่ม สินค้าจากต่างประเทศมีราคาสูงขึ้น เพิ่มยอดขายให้สินค้าในประเทศที่ได้รับการคุ้มครอง (เพราะคู่แข่งลดลง) เพิ่มอุปสงค์ต่อเนื่องสำหรับคนงานในประเทศ เพิ่มค่าจ้างดุลยภาพ และการจ้างงาน