ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
Center of Mass and Center of gravity
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
Equilibrium of a Particle
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
ดวงจันทร์ (Moon).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ดาวพุธ (Mercury).
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง

การเขียนรูปเวกเตอร์แทนแรง ถาม – ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ (1) มวลและจุดศูนย์กลางมวล การเขียนรูปเวกเตอร์แทนแรง กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน น้ำหนักของวัตถุ สภาพไร้น้ำหนักและสภาพเสมือนไร้น้ำหนัก สนามความโน้มถ่วงของโลก และจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ ถาม – ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ (1) ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

สภาพเดิมของการเคลื่อนที่ 2.เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว มี 2 สภาพ คือ 1.อยู่นิ่งตลอดไป 2.เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ในการต้านการเปลี่ยนสภาพ การเคลื่อนที่ของวัตถุ ความเฉื่อย ( inertia ) เป็น สมบัติในการรักษาสภาพเดิม ของการเคลื่อนที่ของวัตถุ หรือเป็น สมบัติ ในการต้านการเปลี่ยนสภาพ การเคลื่อนที่ของวัตถุ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

วัตถุมีความเฉื่อยมากน้อยเพียงใด มวล ( mass , m ) เป็น ปริมาณที่บอกให้ทราบว่า วัตถุมีความเฉื่อยมากน้อยเพียงใด มวล เป็น ปริมาณสเกลาร์ สัญลักษณ์แทนมวล คือ m ในระบบ SI มีหน่วย เป็น kg กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

จุดศูนย์กลางมวล (centre of mass, c.m.) เป็น เสมือนที่รวมมวลของวัตถุ ทั้งก้อนหรือทั้งระบบ เมื่อออกแรงดันวัตถุแล้ว ถ้าวัตถุ มีการเลื่อนที่อย่างเดียวโดยไม่หมุน กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

เมื่อออกแรงดันวัตถุแล้ว ถ้าวัตถุ มีการเลื่อนที่อย่างเดียวโดยไม่หมุน แนวแรงจะผ่านจุดศูนย์กลางมวล กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ตัวอย่าง ตำแหน่ง จุด c.m. ของวัตถุ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ตัวอย่าง ตำแหน่ง จุด c.m. ของวัตถุ กล่องอยู่สูงจากพื้นเท่าใด กล่องสูง 1 m วางบนพื้นราบ c.m. 1 m c.m. more จุด c.m. ใช้เป็น สิ่งบอกตำแหน่งของวัตถุ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

มีหน่วยเป็น นิวตัน ( N ) แรง ( Force ) เป็น ปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น นิวตัน ( N ) ต้องการย้ายที่ ดึงด้วย แรง 20 N ดึงด้วย แรง 20 N กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

อยู่ ณ จุดที่วัตถุถูกแรงกระทำ Q  P  การเขียนรูปแสดงแรงที่กระทำต่อวัตถุ จะเขียนรูปลูกศรตรง มี ชื่อกำกับไว้แทนแต่ละแรง ควรเขียนให้ หัว หรือ หาง ของลูกศร อยู่ ณ จุดที่วัตถุถูกแรงกระทำ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน m1 m2 F12 F21 R m1 และ m2 เป็น มวลของวัตถุทั้งสอง F12 และ F21 เป็น แรงดึงดูดระหว่างมวล ที่แต่ละวัตถุต่างส่งไปกระทำต่อกัน R เป็น ระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสอง กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

Fg เป็น ขนาดของทั้ง F12 และ F21 Fg  m1 m2 m1m2 R2 Fg  1 R2 Fg  G m1m2 R2 Fg = G เป็น ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล G มีค่า 6.67 x 10-11 Nm2/ kg2 กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

น้ำหนัก ( Weight , W ) หรือ แรงโน้มถ่วง คือ แรงที่โลกดึงดูดวัตถุ เป็น แรงดึงดูดระหว่างมวลที่โลกกระทำต่อวัตถุ ตาม กฎแรงดึงดูดระหว่างมวล กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ยิ่งสูง/ไกล จากโลก วัตถุยิ่งมี น้ำหนักน้อยลง G m1m2 จาก Fg = R2 G MEmx R2 W = ในที่นี้คือ ยิ่งสูง/ไกล จากโลก วัตถุยิ่งมี น้ำหนักน้อยลง ถ้าอยู่ไกลจนไม่มีแรงที่โลกดึงดูดวัตถุเลย เรียกว่า วัตถุอยู่ในสภาพไร้น้ำหนัก กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

สภาพเสมือนไร้น้ำหนัก ที่มา http://commons.wikimedia.org/wiki/ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

สภาพเสมือนไร้น้ำหนัก เกิดขึ้นได้โดยไม่จำเป็นต้องอยู่ไกลจากโลกแต่เป็น สภาพที่ปรากฏเฉพาะต่อผู้สังเกตที่มีความเร่ง เช่น ผู้สังเกตที่อยู่ในยานอวกาศที่กำลังโคจรรอบโลก สังเกตสิ่งที่อยู่ในยาน หรือ ผู้ที่อยู่ในลิฟต์ ที่ขาดและตกลงมาด้วยความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก สังเกตสิ่งที่อยู่ในลิฟต์ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ส่งไปกระทำต่อหนึ่งหน่วยมวลของวัตถุ สนามความโน้มถ่วง ( gravitational field ) เป็นปริมาณที่บอกถึง ค่าแรงโน้มถ่วงที่โลก ส่งไปกระทำต่อหนึ่งหน่วยมวลของวัตถุ บางทีเรียก ค่าความโน้มถ่วง ( gravity, g ) แรงโน้มถ่วงที่โลกกระทำต่อวัตถุ มวลของวัตถุ สนามความโน้มถ่วง = กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

จาก G m1m2 G MEmx ในที่นี้ Fg = W = R2 R2 G mxME W R2 mx แรงโน้มถ่วงที่โลกกระทำต่อวัตถุ มวลของวัตถุ สนามความโน้มถ่วง = G m1m2 ในที่นี้ G MEmx Fg = W = R2 R2 G mxME R2 สนามความโน้มถ่วง = = W mx G ME R2 หรือ ความโน้มถ่วง = g = กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

เราวัดค่า g, RE , G ได้ ดังนั้น จึงคำนวณหา ME คือ มวลของโลก ได้ จาก G ME R2 ความโน้มถ่วง = g = ที่ผิวโลก G ME RE2 ความโน้มถ่วง = g = g RE2 G ดังนั้น ME = เราวัดค่า g, RE , G ได้ ดังนั้น จึงคำนวณหา ME คือ มวลของโลก ได้ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

หรือค่าความโน้มถ่วง หรือ gนี้ ก็คือค่าความเร่ง G ME R2 จาก ความโน้มถ่วง = g = ยิ่งสูง/ไกล จากโลก ค่าความโน้มถ่วงน้อยลง G MEmx R2 W = จาก และทำให้ได้ว่า W = mg ความสัมพันธ์นี้ สอดคล้องกับกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตันโดยค่าสนามความโน้มถ่วง หรือค่าความโน้มถ่วง หรือ gนี้ ก็คือค่าความเร่ง เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก g = 10 m/s2 นั่นเอง กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

(centre of gravity, c.g.) จุดศูนย์กลางของความโน้มถ่วง เป็น เสมือนที่รวมน้ำหนักของวัตถุทั้งก้อน หรือทั้งระบบ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ถาม – ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ (1) กับ จุดศูนย์กลางมวล ( c.m. ) ตามปกติแล้ว จุดศูนย์ถ่วง จะอยู่ที่เดียวกับ จุดศูนย์กลางมวล ถาม – ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ (1) คำถาม : จงอธิบายว่า จุดศูนย์ถ่วง ( c.g. ) กับ จุดศูนย์กลางมวล ( c.m. ) จะไม่อยู่ที่เดียวกันได้หรือไม่ ? กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ค่าความโน้มถ่วงน้อยลง G ME R2 ความโน้มถ่วง = g = c.m. c.g. ยิ่งสูง/ไกล จากโลก ค่าความโน้มถ่วงน้อยลง คำตอบ ในบริเวณที่มี สนามความโน้มถ่วงไม่คงตัว c.m. และ c.g. ไม่อยู่ที่เดียวกัน กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์