อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Funny with Action Script
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
การทำ CAI จากโปรแกรม Flash cs3
สิ่งที่ควรคำนึงเพื่อความเจ๋งของGameplay
ส่วนประกอบของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
WEB APPLICATIONS DEVELOPMENT Chap 11 : การสร้างช่องรับข้อมูล 1.
สินค้า CREATECH กล่องรับสัญญาณดิจิตอลทีวี (Set-Top Box) CREATECH CT-1
JavaScript.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
องค์ประกอบของโปรแกรม
บทที่ 5 การทำงานแบบวนซ้ำ
การใช้ Icon Start และ Stop
การแสดงผลและ รับข้อมูล. คำสั่ง Write เป็นคำสั่งที่นำข้อมูลที่ ต้องการแสดงผลที่ จอภาพเมื่อตอนสั่งรัน โปรแกรมไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลประเภทข้อความ ตัวเลข การ.
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
ขอความสั่ง Switch/case/break/default
อ.อรวรรณ เชาวลิต For คำสั่งวนซ้ำ อ.อรวรรณ เชาวลิต
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
การสร้างบทเรียน CAI ด้วย Flash
การจำลองความคิด
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
Suphot Sawattiwong Sound On Game Suphot Sawattiwong
ครูรัตติยา บุญเกิด.
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
HTML, PHP.
1 บทที่ 7 _ต่อ การเขียนโปรแกรมเพิ่มเติม. 2 การทำงานกับ MovieClips มูฟวี่คลิปเป็นออบเจกต์หนึ่งใน ActionScript ที่มี method และ property ให้เราใช้งานได้
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
สนุกกับ Activity ใน Android
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
Symbol ชนิด Button Symbol ชนิด Button.
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 12 Engineering Problem 2
Debugging in VC Computer Programming for Engineers.
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
โปรแกรมยืมเงินยืมทดรองเพื่อการเดินทางในประเทศ (EDMS-ERP)
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
การสมัครและการใช้งาน
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Symbol ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร.
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
 สามารถใส่ไฟล์เสียงเพื่อประกอบงานที่สร้างขึ้น  อิมพอร์ตไฟล์เสียงเข้ามาไว้ในไลบรารี  เพิ่มเลเยอร์ใหม่ แล้วคลิกลากไฟล์เสียงมาวาง บนสเตจ  สร้างคีย์เฟรมใหม่ในตำแหน่งเฟรมที่ต้องการให้หยุด.
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
บทที่ 6 คำสั่งเงื่อนไข.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
เลื่อนเมาส์แล้วเปลี่ยนเฟรม 1. สร้างไฟล์ flash โดยเลือกเป็น Action Script เพิ่ม Layer ให้เป็น 2 เลเยอร์ แล้วตั้งชื่อ เลเยอร์ บนสุด ตั้งชื่อ action.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
Nested loop.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา AS 3.0 : Timeline script อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา

Script สคริปที่ใช้ควบคุม timeline ที่ใช้มาก ก็มีดังนี้ stop();  play(); gotoAndStop(); gotoAndPlay();

stop(); คำว่า stop นั้น เป็นภาษาอังกฤษแปลว่าหยุด สังเกตเห็นว่า หลัง stop เป็นเครื่องหมาย () แสดงว่า stop ไม่ใช่ตัวแปร แต่เป็นคำสั่ง ดังนั้น ถ้าเราไม่กำหนดตัวแปร คำสั่งนี้ก็จะ ส่งผลต่อ stage แทน แต่ถ้าสมมติเรามี มูฟวี่คลิ๊ปอีกตัวบน stage ชื่อว่า bee ซึ่งเป็นรูป วงกลมที่กำลังหมุน  ดังนั้น เมื่อเราสั่ง stop(); หน้าจอเราจะหยุดที่เฟรมที่เราใส่ stop(); แต่เจ้ามูฟวี่คลิ๊ปชื่อ bee ก็จะยังหมุนไปเรื่อยๆ แต่ถ้าเราใส่  stop(); bee.stop(); ทั้ง stage และ มูฟวี่คลิ๊ป bee ก็จะหยุดทั้งคู่ 

Play(); คำว่า play แปลไทยก็คือ เล่น แสดง มันมีหน้าที่ตรงข้ามกับ stop เมื่อคุณสั่งหยุด ได้ เราก็สั่งให้ไปต่อได้ แต่ปรกติ เราจะไม่ค่อยได้ใช้มัน เพราะถ้าเราไม่ stop มันก็ play อยู่แล้ว สรุป  1. ถ้าต้องการให้โปรแกรมหยุดรอที่เฟรมใด ให้กดที่เฟรมนั้น แล้วใส่สคริป stop(); ไว้ที่แถบaction ถ้าหาไม่เจอก็ f9 2. ถ้าเกิดมีโอกาศที่ต้องการให้มันเล่นต่อในเฟรมที่หยุดไว้ ให้ใส่คำสั่งว่า play(); ในเฟรมที่หยุด

gotoAndPlay(); ดังนั้นความหมายคือ ไปที่เฟรมใดเฟรมหนึ่ง แล้วก็เล่นต่อไป ส่วนเราอยากให้ไป เฟรมไหนก็กำหนดตัวเลขไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ เวลาโปรแกรมประมวลผล (C+E) แล้วแสดงภาพในเฟรมไล่มาเรื่อยๆ มาเจอเฟรมที่ใส่สคริปนี้ไว้ มันก็จะ ทำตามที่สคริปสั่ง สมมติคุณสร้างเฟรมไว้ 10 เฟรม แล้วในเฟรมที่ 5 คุณใส่สคริปว่า  gotoAndPlay(1); เมื่อโปรแกรมทำงาน มันก็จะทำงานจากเฟรมที่ 1- 5 แล้วจะวนกลับไปต่อที่เฟรมที่ 1 ใหม่ แล้วก็แสดงภาพไปถึงเฟรมที่ 5 แล้วก็วนกลับไปเฟรมที่ 1 ใหม่ ไม่รู้จบ

gotoAndStop(); ก็เหมือนกับตัวบน แต่มันจะไม่ประมวลผลต่อ คือ พอไปเฟรมที่ระบุ มันก็จะหยุด รอที่เฟรมนั้นเลย