Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
Advertisements

การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง

เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของหนึ่งประชากร
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
สถิติ.
การประมาณค่าทางสถิติ
Graphical Methods for Describing Data
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
2-test.
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
T-Test compare with mean Independent Paired
การทดสอบสมมติฐาน
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส

บทที่ 4 การวัดการกระจาย
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)

สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test… การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ที่เลือกตัวอย่างแบบจับคู่หรือ ไม่เป็นอิสระกัน Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…

นักเรียน 8 คน สอบวิชาวิทยาศาสตร์ 2 ครั้ง ได้คะแนนดังนี้ คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 ครั้งที่ 1 14 13 20 25 16 9 13 18 ครั้งที่ 2 9 6 16 20 15 10 8 7 ให้ทดสอบว่าคะแนนเฉลี่ยของการสอบ 2 ครั้งของนักเรียนกลุ่มนี้แตกต่างกันหรือไม่ ( = 0.05) ตั้งสมมติฐานทางสถิติ H0 : 1 ไม่แตกต่าง 2 H1 : 1 แตกต่าง 2 กำหนดระดับนัยสำคัญ ให้  = 0.05

ช่อง variable view ช่อง data view

Pair 1 การหาความแตกต่างระหว่างคะแนนสอบครั้งที่ 1 – ครั้งที่ 2 Mean ค่าเฉลี่ยของค่าแตกต่างของค่าคะแนนสอบครั้งที่ 1และครั้งที่ 2 = 4.63 Std. Deviation ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าแตกต่าง = 3.623 Std. Error Mean ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของค่าแตกต่าง = 1.281 95% Confidence 1.60  d 7.65 t ค่าสถิติทดสอบของการทดสอบ H0 : d = 0 ในที่นี้ t = 3.611 df องศาอิสระ = 8 -1 = 7 Sig. (2-tailed) ค่า Significance ของสถิติทดสอบ t = .009 ซึ่งน้อยกว่า .05

สรุปผลการทดสอบ เนื่องจากค่า Significance ของสถิติทดสอบ t = สรุปผลการทดสอบ เนื่องจากค่า Significance ของสถิติทดสอบ t = .009 น้อยกว่า .05 จึงปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 ดังนั้น คะแนนสอบของการสอบ 2 ครั้ง ของนักเรียนกลุ่มนี้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05