Suphot Sawattiwong tohpus@gmail.com Function ใน C# Suphot Sawattiwong tohpus@gmail.com.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Suphot Sawattiwong Array ใน C# Suphot Sawattiwong
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
C# เบื้องต้น ก่อนการเขียนเกมด้วย XNA
Introduction to C Introduction to C.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ครั้งที่ 8 Function.
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
Structure Programming
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
รับและแสดงผลข้อมูล.
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาตอนที่ ๓
ครั้งที่ 7 Composition.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
C Programming Lecture no. 6: Function.
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
บทที่ 4 Method (1).
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
OOP (Object-Oriented Programming)
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
Suphot Sawattiwong Lab IV: Array Suphot Sawattiwong
Inheritance การสืบทอดคลาส
input from keyboard มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
บทที่ 6 เมธอด.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
C language W.lilakiatsakun.
เมธอดคือหน้าที่การงานของวัตถุให้เรียกใช้
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Recursion การเรียกซ้ำ
Object-Oriented Programming
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
สายอักขระ เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น.
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
คำสั่งวนซ้ำ.
TECH30201 Object-Oriented Programming
เมธอดคือหน้าที่การงานของวัตถุให้เรียกใช้
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Suphot Sawattiwong tohpus@gmail.com Function ใน C# Suphot Sawattiwong tohpus@gmail.com

การรับส่งค่าข้อมูล int i = 1; float a = 20.0f; Console.WriteLine("Hello World"); i =Console.ReadLine(); Console.ReadLine(); ส่วนที่เป็นข้อมูล ในนี้ได้แก่ i, กับ a เป็นข้อมูลที่เป็นตัวแปร ส่วน “Hello World” เป็นข้อมูลที่เป็น literal

Literal เป็นข้อมูล ดังนั้นมันจึงต้องใช้เนื้อที่ในหน่วยความจำเหมือนกัน เพียงแต่ข้อมูลแบบนี้จะมีค่าตายตัวในหน่วยความจำ ซึ่งหน่วยความจำในตำแหน่งที่เก็บ literal จะไม่มีถูกจองไว้เหมือนกับที่ตัวแปรจอง หลังจากใช้งานเสร็จแล้ว หากหน่วยความจำตำแหน่งนั้นต้องถูกใช้งานด้วยข้อมูลอื่นๆ ก็จะเขียนทับไปเลย เนื่องจากมันเป็นข้อมูลที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง

การรับส่งค่าข้อมูล x รับค่าจาก integer literal ที่มีค่า 1 int x = 1; int y = x; Console.WriteLine(x); 7=x; x ส่งค่าให้แก่ตัวแปร y x ส่งค่าให้ parameter ของ WriteLine(…); x ส่งค่าให้ integer literal ที่มีค่า 7 ไม่ได้

สรุปเรื่องการรับส่งค่าข้อมูล ข้อมูลทุกประเภทสามารถส่งค่าได้ ข้อมูลที่เป็นตัวแปรเท่านั้นที่รับค่าได้ ข้อมูลต้องมีประเภท(type) และ ค่า(value) เสมอ

Function มีลักษณะเหมือน “โปรแกรมย่อย” ที่ช่วยให้การเขียนโปรแกรมมีความเป็นระเบียบมากขึ้น แยกแยะออกเป็นสัดส่วน ลดจำนวน source code ที่ซ้ำกันออกไป ซึ่งเป็นพื้นฐานก่อนการเขียนโปรแกรมเชิง object Function เราสร้าง function เพื่อให้มันมีหน้าที่ทำงานใดงานหนึ่งเท่านั้นให้กับโปรแกรมหลัก “หน้าที่” ต้องมีผู้กระทำหน้าที่(function) กับ ผู้สั่งงาน(โปรแกรมที่เรียกใช้ function) ดังนั้นการสร้าง function แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การสร้าง function และ การเรียกใช้

ตัวอย่าง using System; namespace AreaRectCal { class Program static void Main(string[] args) int width = 20; int height = 30; int area = width * height; Console.WriteLine(area); Console.ReadLine(); }

ตัวอย่างแบบที่การเรียกใช้ function using System; namespace AreaRectCal { class Program static void Main(string[] args) int width = 20; int height = 30; int area = getRectArea(width, height); Console.WriteLine(area); Console.ReadLine(); }

ประโยชน์ของ Function ช่วยให้โปรแกรมดูง่ายขึ้น ช่วยให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายและรวดเร็ว ช่วยลดงานที่ทำซ้ำบ่อยๆ

การสร้าง Function การสร้าง function ประกอบด้วย การตั้งชื่อ function การรับข้อมูลผ่าน Parameter static <ชนิดตัวแปรส่งออก> <ชื่อfunction> (<ชนิดตัวแปร> <ชื่อ param1>, …) { // ส่วนของโปรแกรม }

ตัวอย่าง การส่งค่าออก ใช้คำสั่ง return ตามด้วยตัวแปร static int getRectArea(int w, int h) { // ส่วนของโปรแกรม return w * h; } การส่งค่าออก ใช้คำสั่ง return ตามด้วยตัวแปร

การเรียกใช้ Function การเรียกใช้ function ทำได้โดยการพิมพ์ชื่อ Function แล้วตามด้วย Parameter หากมีการส่งค่าออกมา ควรมีตัวแปรมาลองรับด้วยเช่น int area = getRectArea(width, height); double pi =getPi(); showRectArea(width, height); showLine();

Function Main() Main เป็นรูปแบบ Function ชนิดหนึ่ง แต่ข้อแตกต่างระว่าง Main() กับ Function อื่นๆ คือ Main() เป็น function ที่ทำงานอัตโนมัติ ไม่เหมือน function ทั่วไปที่ต้องเรียกใช้งาน

รูปแบบของ Function Function มีหลายรูปแบบเช่น Procedure

Function ที่รับค่าและส่งค่าออก static int getRectArea(int w, int h) { // ส่วนของโปรแกรม return w * h; }

Function ที่ส่งค่าออกอย่างเดียว static double getPi() { // ส่วนของโปรแกรม return 22/7.0; }

Function ที่รับค่าอย่างเดียว static void showRectArea(int w, int h) { // ส่วนของโปรแกรม Console.WriteLine("Area is {0}", (w*h)); }

Function ที่ไม่รับค่าและส่งค่า static void showLine() { // ส่วนของโปรแกรม Console.WriteLine("----------------"); }

ตัวอย่าง Console.WriteLine(sum(sum(a,9),b)); //22 using System; namespace FunctionExample1 { class Program static int sum(int x, int y) return x + y; } static void Main(string[] args) int a, b; a = 6; b = 7; Console.WriteLine(sum(a, b)); // 13 Console.WriteLine(sum(sum(a,9),b)); //22 Console.ReadLine();

ตัวอย่าง 2 using System; namespace FunctionExample2 { class Program static int arrayMaxValue(int[] a) int max = a[0]; for (int i = 1; i < a.Length; i++) if (a[i] > max) max = a[i]; } return max; static void Main(string[] args) int[] x = new int[5] { 6, 2, 7, 8, 10 }; Console.WriteLine("max ="+arrayMaxValue(x)); Console.ReadLine();