การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
Advertisements

WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
พิจารณาแก๊ส 1 โมเลกุล ชนผนังภาชนะ 1 ด้าน ในแนวแกน x.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
พลังงาน.
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
Ultrasonic sensor.
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
Introduction to Statics
Equilibrium of a Particle
พลังงานภายในระบบ.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
การแปรผันตรง (Direct variation)
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม

Collisions in One Dimension การชนใน 1 มิติ Collisions in One Dimension ชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ (Completely Elastic Collision) ชนแบบไม่ยืดหยุ่น (Inelastic Collision) ชนแบบไม่ยืดหยุ่นสมบูรณ์ (Completely Inelastic Collision)

การชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ Completely Elastic Collision คือการที่วัตถุชนกันแล้ว วัตถุมีการแยกตัวออกจากกันหลังชนในการชนแบบนี้ จะเกิดการอนุรักษ์โมเมนตัมและพลังงานจลน์รวมจะคงที่

ก่อนชน หลังชน 1

2 1 2 1 ดูภาพการชน

การชนแบบไม่ยืดหยุ่น Inelastic Collision คือการที่วัตถุชนกันแล้ว วัตถุมีการแยกตัวออกจากกันหลังชนในการชนแบบนี้ จะเกิดการอนุรักษ์ โมเมนตัมแต่พลังงานจลน์รวมจะไม่คงที่ เนื่องจากเสียพลังงานจลน์ไปเป็นพลังงานในรูปอื่น เช่น ทำให้วัตถุเสียรูปทรง เกิดเสียงดัง มีประกายไฟ ดูภาพการชน

การชนแบบไม่ยืดหยุ่นสมบูรณ์ Completely Inelastic Collision คือการที่วัตถุชนกันแล้ว วัตถุมีการติดกันไปหลังชนกัน ในการชนแบบนี้ จะเกิดการอนุรักษ์โมเมนตัมแต่พลังงานจลน์รวมจะไม่คงที่ เนื่องจากเสียพลังงานจลน์ไปเป็นพลังงานในรูปอื่น เช่นเดียวกันกับชนแบบไม่ยืดหยุ่น ดูภาพการชน

วัตถุมวล 2 kg วิ่งด้วยความเร็ว 4 m/s เข้าชนมวล 10 kg ซึ่งหยุดอยู่กับที่ ถ้าการชนครั้งนี้ไม่มีการสูญเสียพลังงานจลน์ จงหาขนาดและทิศทางของความเร็วหลังชนวัตถุทั้งสอง ลองคิดดู 1 v1 v2 4 m/s

ปล่อยทรงกลมมวล 4 kg จากตำแหน่งที่เชือกอยู่ในแนวระดับให้เข้าชนแท่งไม้มวล 5 kg ซึ่งวางนิ่งบนพื้นราบที่มีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน 0.5 ถ้าการชนเป็นแบบยืดหยุ่น จงหาว่าแท่งไม้จะไถลไปบนพื้นได้ระยะ s เป็นเท่าไร กำหนดเชือกยาว 3 เมตร ลองคิดดู 2 S

ลองคิดดู 3 ลูกปืนมวล 3 กรัม มีความเร็ว 700 m/s วิ่งทะลุผ่านแท่งไม้มวล 600 กรัม ทำให้แท่งไม้มีความเร็ว 2 m/s ความร้อนของลูกปืนหลังทะลุแท่งไม้ทันทีเป็นเท่าไร ถ้าพลังงานจลน์ที่สูญเสียเป็นความร้อนทั้งหมด

ลองคิดดู 4 ยิงลูกปืนมวล 10 กรัม ในแนวระดับเข้าไปฝังในเป้ามวล 5 กิโลกรัม ซึ่งผูกเชือกแขวนไว้ในแนวดิ่ง เป้าจะแกว่งขึ้นไปสูงกว่าตำแหน่งเดิม 20 เซนติเมตร จงหาความเร็วลูกปืนที่เข้าฝังเป้า 20 cm

ลองคิดดู 5 วัตถุมวล m1 เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว u เข้าชนวัตถุมวล m2 ที่ผูกติดกับสปริง ดังรูป โดยมวล m1 จะเคลื่อนที่ถอยหลังกลับมาด้วยความเร็ว v จงหาว่าสปริงถูกอัดเข้าไปเป็นระยะเท่าไร กำหนดให้ ค่านิจของสปริง k และพื้นลื่น u

แท่งไม้มวล m1 = 2.0 kg ไถลไปตามพื้นที่ไม่มีความฝืดด้วยอัตราเร็ว 10 m/s ข้างหน้าของมันมีแท่งไม้มวล m2 = 5.0 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 3.0 m/s ในทิศเดียวกัน สปริงมีมวลน้อยมากและมีค่านิจสปริง k = 1120 N/m ติดด้านหลังมวล m2 ดังรูป เมื่อแท่งไม้ทั้งสองชนกัน สปริงจะถูกอัดมากที่สุดเท่าใด สมมติสปริงไม่โค้งงอและยังเป็นไปตามกฎของฮุค ระหว่างสปริงยุบตัว ลองคิดดู 6 3 m/s 10 m/s

Collisions in Two Dimension การชนใน 2 มิติ Collisions in Two Dimension การชนกันในสองมิติเป็นการชนกันของวัตถุบนระนาบเดียวกัน แนวการชนไม่ผ่านจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุทั้งสอง การชนในสองมิติแตกต่างจากการชนในหนึ่งมิติ คือ วัตถุสองสิ่งที่ชนกันจะมีการเคลื่อนที่แยกออกทำมุมต่อกัน เช่น การชนกันของลูกบิลเลียดหรือสนุ๊กเกอร์ ลูกบิลเลียดหรือสนุ๊กเกอร์จะกระเด็นแยกออกทำมุมต่อกัน

การชนในสองมิติแบบยืดหยุ่น ผลรวมของโมเมนตัมของระบบ และผลรวมของพลังงานจลน์ของระบบมีค่าคงตัวและถ้าในการชนของมวลที่เท่ากันชนกันโดยมวลก้อนหนึ่งวิ่งเข้าชนมวลอีกก้อนหนึ่งที่อยู่นิ่งแบบ  หลังจากชนกันแล้ววัตถุทั้งสองจะแยกจากกันเป็นมุม 90  องศา ส่วนการชนแบบไม่ยืดหยุ่น ผลรวมของโมเมนตัมของระบบมีค่าคงตัว แต่ผลรวมของพลังงานจลน์ของระบบ มีค่าไม่คงตัว

m m m m 1

m m m m 2

สมการ 1 ลบกับสมการ 2 จะได้ ซึ่งค่า 2v1v2cos = 0 จะเป็นจริงได้ถ้า cos = 0 นั่นคือ cos90 = 0   = 90  นั่นคือ  การชนกันในสองมิติแบบยืดหยุ่น  ถ้ามวลของวัตถุเท่ากัน  โดยวัตถุหนึ่งวิ่งเข้าชนอีกวัตถุหนึ่งที่อยู่นิ่ง  วัตถุจะแยกกันไปเป็นมุมฉาก ดูภาพการชน

ลองคิดดู 1 วัตถุ A และ B มีมวลเท่ากัน A วิ่งชน B ที่อยู่นิ่งในแนวไม่ผ่านจุดศูนย์กลางมวล ทำให้ A เบนจากแนวเดิม 30o ถ้า A ก่อนชนมีอัตราเร็ว 6 m/s และการชนนี้เป็นแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ หลังชน A และ B มีอัตราเร็วเท่าไร A B 6 m/s 30o

ลองคิดดู 2 วัตถุ B มีมวลเป็น 2 เท่าของวัตถุ A วัตถุ A และ B วิ่งเข้าหากันเป็นมุมฉาก เมื่อชนกันแล้วจะติดกันไปด้วยอัตราเร็ว ทำมุม 30o กับแนว A ถ้า A วิ่งชนด้วยอัตราเร็ว 30 m/s จงหาอัตราเร็วก่อนชนของรถ B และอัตราเร็วหลังชนรถทั้งสอง