สถาปัตยกรรมเทียร์ TIER ARCHITECTURE.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

The InetAddress Class.
บทที่ 4 PHP with Database
เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
กลุ่มคำสั่ง SQL สามารถแบ่งได้ดังนี้
การเขียนผังงาน.
บทที่ 5 Visual C#.NET กับ ฐานข้อมูล
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
สถาปัตยกรรม ActiveX Data Object (ADO)
การเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล
โครงการ LDAP เฟส 2 ผู้นำเสนอ นายมหาราช ทศศะ
ภาษา SQL (Structured Query Language)
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
PHP-4 ติดต่อกับฐานข้อมูล MS-Access
ASP [#15] การใช้งาน ASP กับ Mysql ผ่าน ODBC การทำสมุดเยี่ยม Guestbook
ASP [ # 11 ] เตรียมความพร้อมก่อนติดต่อกับ Ms Access
ASP:ACCESS Database.
Operating System ฉ NASA 4.
ASP:ACCESS Database.
MySQL.
ASP กับฐานข้อมูล.
ข้อดีของฐานข้อมูล 1. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล โดยข้อมูลเรื่องเดียวกันอาจมีอยู่หลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้
การเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การสร้างจดหมายเวียน.
Php with Database Professional Home Page :PHP
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
Database Programming Exceed Camp #2 24 October 2005.
การเข้าถึงฐานข้อมูล ด้วยกลุ่ม object ADO.NET
การเชื่อมต่อฐานข้อมูล โดยใช้คอนโทรล SQLDataSource
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 22 มิถุนายน 2550 ความผิดพลาดที่พบ บ่อย มหาวิทยาลัยเนชั่น.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
ทำงานกับ File และStream
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
คือระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่ง ประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบ เดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูล.
PHP:Hypertext Preprocessor
การติดต่อกับฐานข้อมูล(MySQL)
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
การใช้งาน access เบื้องต้น
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
SQL Structured Query Language.
CHARPTER 3 การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน
การใช้งาน ASP.NET 3.5 ด้านฐานข้อมูล
การรักษาความปลอดภัยของเอกสาร
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงข้อมูลพนักงาน ด้วย ADO.NET vs. DataReader
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 4 การทำงานกับรายงาน (Report)
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลMySQL
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC
บทที่ 3 Class and Object (2).
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
เขียนโปรแกรมกับฐานข้อมูล (Database Programming)
บทที่ 4 คำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
CHAPTER 12 SQL.
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
ADO.NET (การบริหารและจัดการข้อมูล)
ASP เตรียมความพร้อมก่อนติดต่อกับ Ms Access การนำข้อมูลจากตารางมาแสดง
SQL Structured Query Language.
ระบบฐานข้อมูลการดำเนินงานกิจกรรมสาธารณสุข
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
Java Network Programming 1
การจัดการกับความผิดปกติ
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
JSP ติดต่อฐานข้อมูล.
การติดต่อกับฐานข้อมูล(MySQL)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาปัตยกรรมเทียร์ TIER ARCHITECTURE

ความหมายของเทียร์ เทียร์ (TIER) คือโปรเซส (Process) ที่ใช้ในการจัดการงานใดงานหนึ่ง ดังนั้นในระบบหนึ่งจะมีเทียร์อย่างน้อยที่สุด 1 เทียร์ แต่จะมีจำนวนเท่าใดนั้นขึ้นอยู่กับ ทรัพยากรของแต่ละเครื่อง ลักษณะงานที่ทำ

สถาปัตยกรรมเทียร์ เทียร์เดียว (Single tier) สองเทียร์ (Two tier) หลายเทียร์ (Multi tier)

สถาปัตยกรรมแบบเทียร์เดียว ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยส่วนใหญ่ โดยที่โปรแกรมนั้นสามารถทำงานได้ทุกอย่างในตัวของมันเอง ตั้งแต่การรับข้อมูล ประมวลผล แสดงผล ตลอดจนการบันทึกงานลงในแฟ้ม เช่น โปรแกรมMicrosoft word หรือ Access

สถาปัตยกรรมแบบสองเทียร์ มีการแบ่งเทียร์ออกเป็นสองส่วน (Client/ Server) ซึ่งจะมีการทำงานประสานกันโดยอาศัยข้อตกตงทางการสื่อสารที่ได้ตกลงกันไว้ทั้งสองส่วน หน้าที่ของ Server คือทำหน้าที่ Background Process รับผิดชอบด้านการประมวลผลของระบบข้อมูลและในขณะที่ Client ทำหน้าที่ Foreground Process ที่รับผิดชอบทางด้านของ User Interface

สถาปัตยกรรมแบบหลายเทียร์ ในกรณีของ 2 tiers นั้นถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทำให้ไม่สามารถสื่อสารกันได้ หรือทำให้เกิดความไม่เข้าใจระหว่างรูปแบบของข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสารกัน จะต้องมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงเทียร์ทั้งสองเพื่อให้สามารถสื่อสารกันได้ เช่น ในระบบหนึ่งเรามีฐานข้อมูล SQL และมีการพัฒนาโปรแกรมขึ้นมาเพื่อใช้งานฐานข้อมูลดังกล่าว แต่ต่อมามีการเปลี่ยนฐานข้อมูลจาก SQL เป็น Oracle ทำให้ต้องมีการเปลี่ยนแปลงหรืออปรับปรุงส่วนของ Client ใหม่เพื่อเข้าใจรูปแบบการสื่อสารที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหานี้จึงได้เพิ่มเทียร์ที่อยู่ระหว่างกลาง (Application tier)

Middleware ODBC ADO JDBC

การติดต่อฐานข้อมูล JDBC-ODBC

การติดต่อกับฐานข้อมูล Architecture Java Program JDBC : Java Database Connection Database Driver ผู้ผลิต DB จะสร้าง driver สำหรับติดต่อฐานข้อมูล โดยที่ driver จะแปลคำสั่งจาก JDBC ให้เป็นคำสั่งสำหรับเข้าใช้งาน DB ส่วนโปรแกรมจาวาจะส่ง sql ไปที่ JDBC แล้ว JDBC จะเปลี่ยนคำสั่งนั้นให้เป็นคำสั่งสำหรับ driver

การเริ่มต้นการติดต่อกับ MS Access จะต้องมีฐานข้อมูล สร้าง user DSN ติดต่อด้วย Java Application DSN DB Java Application

สร้างฐานข้อมูลใน MS Access สร้างฐานข้อมูล MyDb ใน Access สร้าง table ชื่อ STUDENT มีโครงสร้างดังนี้ name type _id Integer _name Varchar(30) _department Varchar(15)

สร้างฐานข้อมูลใน MS Access ป้อนข้อลงลง table ชื่อ STUDENT บันทึกลงใน D:\Eventprogramming\MyDb.mdb _id _name _department 123 PIYO BBA 124 SORN ENG

การสร้าง DSN Start  Control Panel  Administrative Tools  DataSource(ODBC)

Click ปุ่ม ADD

เลือกรายการ Driver do Microsoft Acess (*.mdb) แล้วคลิกปุ่ม Finish

 ป้อนคำว่า STUDENT  Click Select เพื่อเลือกฐานข้อมูล

การ Loading JDBC Driver สามารถทำได้ด้วยคำสั่ง Class.forName ("sun.jdbc.odbc.JdbcOdbcDriver");

การเริ่มต้น Connect Connection c = DriverManager.getConnection ("jdbc:odbc:STUDENT"," "," "); Password Data Base Name User Name

Statements Statement เป็น Interface สำหรับการสร้าง class ที่ทำหน้าที่ส่งประโยค sql ไปสู่ DB ผ่านทาง Connection ถ้ามีผลลัพธ์ ก็สามารถรับผลลัพธ์นั้นกลับเข้าสู่โปรแกรมเป็น resultset ซึ่ง Statement สามารถใช้งานได้ 3 รูปแบบ คือ Statement สำหรับทำงานประโยค SQL ที่สร้างขึ้นครั้งเดียว PrepareStatement สำหรับทำงานประโยค SQL ที่มีรูปแบบเดิม หลายครั้ง CallableStatement สำหรับทำงานกับ Store Procedures

Statements (con.) Statement s = c.createStatement( ); ResultSet r = s.executeQuery (" ______ "); s.executeQuery ("SQL"); ใช้ในกรณีที่ประโยค sql นั้นมีผลลัพธ์กลับมา s.executeUpdate ("SQL"); ใช้ในกรณีที่ประโยค sql นั้นมีไม่ผลลัพธ์กลับมาแต่มีผลต่อฐานข้อมูล s.execute ("SQL"); ใช้ในกรณีที่ไม่ทราบว่าประโยค sql นั้นมีผลลัพธ์กลับมาหรือไม่ซึ่งถ้ามีจะต้องใช้ getResultSet รับค่าที่คืนกลับ หรือใช้ getUpdateCount เพื่อตรวจสอบจำนวน record ที่เปลี่ยนแปลง SQL Statement

การทดสอบการเชื่อมต่อ import java.sql.*; import java.lang.*; class DBTest { public static void main (String st[ ]) throws Exception { Class.forName("sun.jdbc.odbc.JdbcOdbcDriver"); Connection c = DriverManager.getConnection("jdbc:odbc:STUDENT","",""); Statement s = c.createStatement( ); ResultSet r = s.executeQuery ("SELECT * FROM STUDENT"); while(r.next()) { System.out.println(r.getInt(1) + ", " +r.getString(2) + ", " + r.getString(3)); } s.close(); c.close(); }

การทดสอบการเชื่อมต่อ import java.sql.*; import java.lang.*; class DBTest{ public static void main (String st[]) throws Exception{ Class.forName("sun.jdbc.odbc.JdbcOdbcDriver"); Connection c = DriverManager.getConnection("jdbc:odbc:STUDENT","",""); Statement s = c.createStatement(); s.executeUpdate("INSERT INTO STUDENT VALUES(134,'LUPING','MBA.')"); ResultSet r = s.executeQuery("SELECT * FROM STUDENT"); while(r.next()){ System.out.println(r.getInt(1) + ", " +r.getString(2) + ", " + r.getString(3));} s.close(); c.close(); }