ส่วนที่ 2 องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ วรเจตน์ ภาคีรัตน์
การจัดโครงสร้างรัฐธรรมนูญ (1) แยกองค์กรที่ใช้อำนาจตุลาการออกจากองค์กรที่ใช้อำนาจทางบริหาร องค์กรใช้อำนาจตุลาการ องค์กรใช้อำนาจทางบริหาร คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง
การจัดโครงสร้างรัฐธรรมนูญ (2) รัฐธรรมนูญประกันความเป็นสถาบันขององค์กรอิสระ ให้รัฐภาตรากฎหมายจัดตั้งองค์กรอิสระ ผู้เสียหายฟ้องร้องต่อศาลปกครองได้
คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) กกต. มีอำนาจควบคุมการเลือกตั้งระดับชาติเท่านั้น กระทรวงมหาดไทยจัดการเลือกตั้ง กกต. ต้องประกาศผลรับรองสถานะ ส.ส. ทันที ให้ศาลวินิจฉัยเพิกถอนสถานะ ส.ส. จัดตั้งศาลเลือกตั้งเฉพาะกิจ
ที่มาองค์กรอิสระ องค์กรสรรหาต้องรับผิดชอบต่อสาธารณะ ถ้าให้วุฒิสภาคัดเลือก ควรให้ลงคะแนนอย่างเปิดเผย เปิดเผยบัญชีรายชื่อผู้มีคุณสมบัติ องค์กรคัดเลือกเป็นผู้ริเริ่มถอดถอน วาระผู้ดำรงตำแหน่งองค์กรอิสระ ไม่ควรพ้นจากตำแหน่งพร้อมกัน
ศาลรัฐธรรมนูญ (1) องค์ประกอบและที่มา 1. ควรมีจำนวน 9 คน -องค์กรศาล : ศาลฏีกา 2 คน ศาลปกครอง 2 คน -ฝ่ายใช้กฎหมายภาคปฏิบัติ 3 คน -ฝ่ายวิชาการ 2 คน
ศาลรัฐธรรมนูญ (2) 2. อำนาจในการแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งฯ ถ้าไม่มีวุฒิสภา ให้สภาผู้แทนฯ คณะรัฐมนตรี องค์กรศาล สภาผู้แทนใช้มติเสียงข้างมากพิเศษ
ศาลรัฐธรรมนูญ (3) กฎเกณฑ์วิธีพิจารณา รัฐสภาตรากฎหมายวิธีพิจารณา ยกเลิกระบบคำวินิจฉัยส่วนตน ใช้ระบบตุลาการผู้รับผิดชอบสำนวนแทน