ระบบผิวหนัง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
ร่างกายของเรา วิทยาศาสตร์ อ.ปรางค์ปรียา พรมฤทธิ์
กลุ่มอาการทางผิวหนัง
GT-1 ENGINE TREATMENT หัวเชื้อสารเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องยนต์ จีที-วัน
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
Nickle.
พวกเราต่างคิดว่าการกินผลไม้เป็นเรื่องง่ายๆ แค่ซื้อมา แล้วก็ปอก จากนั้นก็หยิบเข้าปากเท่านั้น คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่าถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
อิทธิพลของการเกิดฮอร์โมนเพศ
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ผัก.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
อาหารหลัก 5 หมู่.
โครเมี่ยม (Cr).
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ชุมชนปลอดภัย.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
กลุ่มอาการของคนเนื่องจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อบางส่วน
ระดับความเสี่ยง (QQR)
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
การฟื้นฟูความรู้เรื่อง การดูแลเท้าเบาหวาน
แผ่นดินไหว.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
Structure of Flowering Plant
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบผิวหนัง

ระบบผิวหนังหรือระบบห่อหุ้มร่างกาย (Integumentary system)

โครงสร้างของผิวหนัง ผิวหนังของคนเราแบ่งออกได้เป็น 2 ชั้น คือ 1. หนังกำพร้า (Epidermis) เป็นผิวหนังที่อยู่ ชั้นบนสุด มีลักษณะบางมาก ประกอบไปด้วยเชลล์ เรียง ซ้อนกันเป็นชั้นๆโดยเริ่มต้นจากเซลล์ชั้นในสุด ติดกับหนังแท้ ขึ่งจะแบ่งตัวเติบโต ขึ้นแล้วค่อยๆ เลื่อu มาทดแทนเขลล์ที่อยู่ชั้นบนจนถึงชั้นบนสุด แล้วก็ กลายเป็นขี้ ไคลหลุดออกไปนอกจากนี้ในชั้นหนังกำพร้ายังมีเซลล์ เรียกว่า เมลานิน ปะปนอยู่ ด้วย เมลานินมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับบุคคลและเชื้อชาติ จึงทำให้สีผิวของคน แตกต่าง กันไป ในชั้นของหนังกำพร้าไม่มีหลอดเลือดเส้นประสาท และต่อมต่างๆ นอกจากเป็นทางผ่านของรูเหงื่อ เส้นขน และไขมันเท่านั้น

โครงสร้างของผิวหนัง 2.หนังแท้ (Dermis) เป็นผิวหนังที่อยู่ชั้นล่าง ถัดจากหนังกำพร้า และหนากว่าหนังกำพร้ามาก ผิว หนังชั้นนี้ประกอบไปด้วยเนี้อเยื่อคอลลาเจน (Collagen) และอีลาสติน (Elastin) หลอดเลือดฝอย เส้นประสาทกล้ามเนื้อเกาะเส้นขน ต่อมไขมัน ต่อมเหงื่อ และขุม ขนกระจายอยู่ทั่วไป

หน้าที่ของผิวหนัง 1. ป้องกันและปกปิดอวัยวะภายในไม่ให้ได้รับ อันตราย 2. ป้องกันเชื้อโรคไม่ให้เข้าสู่ร่างกายโดยง่าย 3. ขับของเสียออกจากร่างกาย โดยต่อมเหงื่อ ขับเหงื่อออกมา 4. ช่วยรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ โดย ระบบหลอดเลือดฝอยและการระเหยของ เหงื่อ 5. รับความรู้สึกสัมผัส เช่น ร้อนหนาว เจ็บ ฯลฯ 6. ช่วยสร้างวิตามินดีให้แก่ร่างกาย โดยแสง แดดจะเปลี่ยนไขมันชนิดหนึ่งที่ผิวหนังให้ เป็นวิตามินดีได้ 7. ขับไขมันออกมาหล่อเลี้ยงเส้นผม และขน ให้เป็นเงางามอยู่เสมอและไม่แห้ง

การดูแลรักษาผิวหนัง 1.2 ฟอกตัวด้วยสบู่ที่มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อนๆ ทุกคนย่อมมีความต้องการมีผิวหนังที่สวยงาม สะอาด ไม่เป็นโรคและไม่ เหี่ยวย่นเกินกว่าวัย ฉะนั้นจึงควรดูแลรักษาผิวหนังตัวเอง ดังนี้ 1. อาบน้ำชำระร่างกายให้สะอาดอยู่เสมอ โดย 1.1 อาบน้ำอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ในเวลาเช้าและเย็น เพื่อช่วยชำระล้างคราบเหงื่อไคล และความสกปรกออกไป 1.2 ฟอกตัวด้วยสบู่ที่มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อนๆ 1.3 ทำความสะอาดให้ทั่ว โดยเฉพาะบริเวณใต้รักแร้ ขาหนีบ ข้อพับ อวัยวะเพศ ง่าม นิ้วมือ นิ้วเท้า ใต้คาง และหลังใบหู เพราะเป็นที่อับและเก็บความชื้น อยู่ได้นาน 1.4 ในขณะอาบน้ำ ควรใช้นิ้วมือ หรือฝ่ามือ ถูตัวแรงๆ เพราะนอกจากช่วยให้ร่างกาย สะอาดแล้ว ยังช่วยให้การหมุนเวียนของเลือดดีขึ้น 1.5 เมี่ออาบน้ำเสร็จ ควรใช้ผ้าเช็ดตัวที่ สะอาด เช็ดตัวให้แห้ง แล้วจึงค่อยสวมเสื้อผ้า

การดูแลรักษาผิวหนัง 2. หลังอาบน้ำแล้ว ควรใส่เสื้อผ้าที่สะอาด และเหมาะสมกับอากาศ และงานที่ปฏิบัติ เช่น ถ้าอากาศ ร้อนก็ควรใส่เสื้อผ้าบาง เพื่อไม่ให้เหงื่อออก มาก เป็นต้น 3. กินอาหารให้ถูกต้องและครบถ้วนตามหลัก โภชนาการ โดยเฉพาะอาหารที่มีวิตามินเอ เช่น พวก น้ำมันตับปลา ตับสัตว์ เนย นม ไข่ แดง เครื่องในสัตว์ มะเขือเทศ มะละกอ รวมทั้งพืชใบเขียวและใบเหลือง วิตามินเอ จะช่วยให้ผิวหนังชุ่มชื้น ไม่เป็นสะเก็ด แห้ง ทำให้เล็บไม่เปราะ และยังทำให้เส้นผมไม่ร่วงง่ายอีกด้วย 4. ดื่มน้ำมากๆ เพื่อทำให้ผิวหนังเปล่งปลั่ง 5. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เพื่อช่วยให้การ หมุนเวียนของเลือดดีขึ้น

การดูแลรักษาผิวหนัง 6. ควรให้ผิวหนังได้รับแสงแดดสม่ำเสมอ โดย เฉพาะเวลาเช้าซึ่ง แดดไม่จัดเกินไป และพยายามหลีก เลี่ยงการถูกแสงแดดจ้า เพราะจะทำให้ ผิวหนังเกรียม และกร้านดำ 7.ระมัดระวังโนการใช้เครื่องสำอาง เพราะ อาจเกิดอาการแพ้ หรือ ทำให้ผิวหนังอักเสบ เป็น อันตรายต่อผิวหนังได้ หากเกิดอาการแพ้ต้องเลิก ใช้ เครื่องสำอางชนิดนั้นทันที 8. เมื่อมีสิ่งผิดปกติใดๆ เกิดขึ้นกับผิวหนัง ควรปรึกษาแพทย์

ความผิดปกติของผิวหนังที่พบบ่อย 1. สิว(Acne) เกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเพศในช่วง วัยรุ่น หรือ เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ที่อยู่ในต่อมไขมันใต้ผิวหนังมีมากผิดปกติ 2. ตาปลา(Corn) เกิดจากแรงกดหรือแรงเสียดสีผิวหนังบริเวณนั้นบ่อยๆ มีลักษณะเป็น เม็ดกลมๆ แข็งๆ มักเกิดบริเวณนิ้วเท้าหรือฝ่าเท้า เนื่องจากใส่รองเท้าคับเกินไป 3. กลิ่นตัว(Odour) เกิดจากปฏิกิริยาเคมีของกรดไขมันจากต่อมเหงื่อเซลล์บุผิวที่ตายแล้ว เหงื่อรวมกับแบคทีเรียและความชื้นเกิดเป็นกลิ่นตัว ถ้ามีกลิ่นตัวแรงอาจใช้สารส้มหรือ ลูกกลิ้งระงับกลิ่นทาบริเวณรักแร้หลังอาบน้ำทุกครั้ง 4. โรคราที่เท้าหรือฮ่องกงฟุต(Hong kong’s foot) หรือโรคเท้านักกีฬา (Athlete’s foot) เกิดจากเชื้อราที่เท้า เนื่องจากรองเท้าอับชื้นหรือลุยน้ำสกปรก ทำให้มีอาการคันบริเวณ ซอกนิ้ว การป้องกันและรักษาทำได้โดยการล้างเท้าให้สะอาดแล้วเช็ดให้แห้ง

ความผิดปกติของผิวหนังที่พบบ่อย 5.   ผิวหนังแห้งกร้าน(Dry’s skin) เกิดจากสภาพแวดล้อมผิดปกติ เช่นอากาศ ร้อนจัด อากาศแห้งมาก หรือฟอกสบู่บางชนิด เป็นต้น ควรใช้ครีมทาผิวเพื่อรักษาความชุ่มชื้น ของผิวหนังไว้ 6.  เกลื้อน(Tinea versicolor) เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง มักเกิดขึ้นบริเวณ ลำตัว แขน ขา คอ หน้า เป็นต้น พบมากในผู้ประกอบอาชีพที่อยู่ในอุณหภูมิสูงมีเหงื่อ ออกมาก มีความชื้นสูง หรือสกปรกเปรอะเปื้อนพวกไขมันและฝุ่นละออง ควรใช้ขี้ผึ้ง รักษากลากเกลื้อนทาบริเวณที่เป็น ถ้ามีอาการลุกลามควรปรึกษาแพทย์ 7.   กลาก(Ring worm)เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อราหลายชนิดที่เกิดขึ้นทั่วไปตาม ร่างกายมีลักษณะเป็นวง แต่ส่วนขอบนั้นนั้นจะนูนสูงแดงมีเม็ดตุ่มพองน้ำเล็กๆ ป้องกัน และรักษาเช่นเดียวกับเกลื้อน 8.    ฝี (Abscess) เกิดจากเชื้อบัคเตรีชนิดหนึ่งซึ่งมีบนผิวหนังทั่วไป มีลักษณะบวมแดงจน กลายเป็นหนอง

ความผิดปกติของผิวหนังที่พบบ่อย 9.   เล็บขบ(Ingrown nail) มักเป็นกับนิ้วหัวแม่เท้าที่เกิดจากการงอกของเล็บที่กดลึกเข้า ไปในเนื้อบริเวณซอกเล็บ ทำให้เกิดความเจ็บปวด ป้องกันได้โดยไม่ควรตัดเล็บสั้น จนเกินไป 10.  เชื้อราที่เล็บ(Tinea ungium) มักเป็นกับผู้ทำงานที่ทำให้มือต้องเปียกน้ำเป็นประจำ หรือเท้าอยู่ในที่อับชื้น ป้องกันโดยตัดเล็บให้สั้น รักษาเล็บให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ 11.   ผมร่วง(Alopecia) ผมของคนเราจะร่วงได้ตามธรรมชาติแล้วงอกขึ้นมาใหม่ ตลอดเวลา แต่ถ้าร่วงมากกว่าปกติอาจมีสาเหตุจากการขาดสารอาหาร การเจ็บป่วยด้วย โรค เชื้อรา หรือแพ้ยาสระผมเป็นต้น ควรหลีกเลี่ยงการเป่าผมด้วยความร้อน การย้อมผม การดัดผม และเมื่อเกิดความผิดปกติควรรีบปรึกษาแพทย์ 12. รังแค(Dandruff) เกิดจากผิวหนังหรือเซลล์ที่ตายแล้วแห้งหลุดลอกออกมาเป็นแผ่น หรือเป็นขุยๆ มักเกาะติดอยู่กับเส้นผม ทำให้คันศีรษะและเป็นสาเหตุของผมร่วงได้ ป้องกันโดยสระผมด้วยยาสระผมอย่างอ่อนๆ หากรังแคยังไม่หายควรรีบปรึกษาแพทย์