Neural Network – Introduction to Artificial Intelligence

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Advertisements

เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
ปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ Artificial Intelligence and Expert System ระบบความฉลาด (Intelligence System) เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ พยายามลอกเลียนภูมิปัญญาของมนุษย์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
กระบวนการของการอธิบาย
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
Multistage Cluster Sampling
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Basic Input Output System
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ขดลวดพยุงสายยาง.
Supply Chain Management
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Neural Network 030523111 – Introduction to Artificial Intelligence Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka

เครือข่ายใยประสาท (Neural Network) การนำปัญญาประดิษฐ์มาประยุกต์ใช้เพื่อเลียนแบบความคิด และการกระทำ ของมนุษย์ ไม่สามารถทำได้อย่างสมบูรณ์ เนื่องจาก มีขั้นตอนที่ตายตัวเกินไป ใช้หลักทฤษฎีทางด้านตรรกศาสตร์ จึงมีการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ในรูปแบบใหม่ขึ้นมา เรียกว่า “เครือข่ายใย ประสาท” บางครั้งเรียกว่า “เครือข่ายใยประสาทเทียม” (Artificial neural network : ANN) เป็นการจำลองการทำงานของสมองมนุษย์ โดยใช้การประมวลผลแบบขนาน สามารถใช้จดจำและมีการเรียนรู้จากประสบการณ์

การทำงานของโครงข่ายประสาทในสมอง ในสมองจะประกอบไปด้วย neuron จำนวนมาก แต่ละ neuron จะมีเส้นประสาท “Dendrite” แตกแขนงออกมา เส้นประสาทที่แยกออกมาจะไปเชื่อม กับ neuron อันอื่น Synapse คือส่วนของปลาย เส้นประสาท Axon มีหน้าที่ส่งผ่านประจุไฟฟ้า ไปยัง neuron อื่นๆ

การทำงานของโครงข่ายประสาทในสมองเทียม Dendrites summation threshold OUTPUT Axon INPUT

การแบ่งชั้นของโครงข่ายประสาทเทียม INPUT HIDDEN OUTPUT

องค์ประกอบของโครงข่ายใยประสาท Node(neuron) บางครั้งจะเรียกว่า Unit ซึ่งจะเชื่อมโยงต่อกันด้วยเส้น เชื่อมโยง (Link) ซึ่งแต่ละเส้นจะมีค่าน้ำหนักกำหนดไว้

Perceptron เป็นโครงข่ายใยประสาท ที่แต่ละโหนดจะเชื่อมต่อไปยังโหนดในขั้นถัดไปทุกจุด ถ้าโหนดผลลัพธ์มีเพียงโหนดเดียวจะเรียกว่า “Single network” สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทคือ Single Layer Perceptron (SLP) Multi Layer Perceptron (MLP)

Single Layer Perceptron (SLP) ซึ่งประกอบไปด้วยชั้นของผลลัพธ์เพียงชั้นเดียวเท่านั้น โดยผลลัพธ์จะได้จากผลรวมของข้อมูลนำเข้าและค่าน้ำหนักของแต่ละจุดที่ เชื่อมโยงกัน

Multi Layer Perceptron (MLP) ซึ่งแต่ละชั้นจะมีการรับค่าและคำนวณค่าผลรวมของข้อมูลนำเข้าและค่า น้ำหนักของแต่ละจุดที่เชื่อมโยงกัน และส่งต่อค่าเหล่านั้นไปยังโหนดที่ เชื่อมต่อในชั้นถัดไป INPUT HIDDEN OUTPUT

ตัวอย่าง สร้าง Single Network เพื่อแทนการทำงานของ AND Summation function(x) = Activation function = 0 ถ้า X <= 1 1 ถ้า X > 1 กำหนด w1และ w2 = 1 A B A & B 1 w1 A A & B B w2

Backpropagation เป็นโครงข่ายแบบ Perceptron หลายชั้น จะมีการคำนวณค่า error ที่ เกิดจากการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่คำนวณได้ กับ ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เป็น เรียกอีกอย่างว่า เป็นการเรียนรู้จากตัวอย่างที่ให้มา การทำงานของ Backpropagation มีขั้นตอนดังนี้ สุ่มค่าน้ำหนักให้กับ link นำค่าข้อมูลเข้าไปในโครงข่าย คำนวณค่าผลลัพธ์ที่ได้จากโครงข่ายและคำนวณค่า error นำค่า error ส่งกลับไปเปลี่ยนแปลงค่าน้ำหนักภายใน การทำงานแบบนี้จะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่น่าพอใจ แต่ไม่ถูกต้อง 100%

Evolutionary computation 357353 – Artificial Intelligence Choopan Rattanapoka

การคำนวณเชิงวิวัฒนาการ เป็นการเรียนรู้ที่เลียนแบบมาจากวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างเทคนิคที่ใช้การคำนวณเชิงวิวัฒนาการ คือ Genetic Algorithm ในปี ค.ศ. 1858 Charles Darwin ได้นำเสนอทฤษฎีเชิงวิวัฒนาการ ซึ่งกล่าวไว้ว่า สิ่งมีชีวิตบนโลกจะเกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ เรียกว่า สิ่งมีชีวิตต้องมีวิวัฒนาการ (Evolution) เพื่อปรับตัวให้เหมาะสม (fitness) กับสภาพแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวไม่ได้ จะไม่สามารถดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ได้ กระบวนการทางธรรมชาตินี้เรียกว่า การคัดเลือกทางธรรมชาติ (Natural Selection)

ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมของมนุษย์ สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมือนกัน จะมีลักษณะทางพันธุกรรมที่คล้ายกัน เนื่องจาก สิ่งมีชีวิตสามารถถ่ายทอดพันธุกรรมไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลานได้ สิ่งจะถ่ายทอดพันธุกรรมที่เรียกว่า ยีน (Gene) ลูกหลานที่ได้รับพันธุกรรม (Genetic) จากพ่อแม่โดยตรง เช่น สีผม สีผิว ความสูง etc.. ยีนเป็นส่วนหนึ่งของ DNA ที่ปรากฏอยู่บนตำแหน่งโครงสร้างของ โครโมโซม (Chromosome) เพื่อทำหน้าที่ถ่ายทอดและควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม มนุษย์มีโครโมโซมทั้งหมด 23 คู่ (46 แท่ง) มาจากพ่อ 23 แท่ง และมาจากแม่ 23 แท่ง มาไขว้เปลี่ยนกัน (Crossover) แต่หากกรณีที่ผู้ได้รับการถ่ายทอดมียีนที่แตกต่างจากพ่อแม่จะเรียกว่า การกลาย พันธุ์ (Mutation)

องค์ประกอบของขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม สามารถแบ่งออกเป็นวิธีดังนี้ เริ่มต้น สร้างประชากรต้นกำเนิด หาค่าความเหมาะสม การคัดเลือก การไขว้เปลี่ยน การกลายพันธุ์ เงื่อนไขการหยุดทำงาน เริ่มต้น

การสร้างโครโมโซม เป็นการสร้างทางเลือกสำหรับปัญหาให้อยู่ในรูปแบบของโครโมโซม (Chromosome Encoding) ซึ่งจะมีลักษณะเป็นสาย (string) ที่มี ขนาดจำกัด ข้อมูลภายในโครโมโซมจะเปรียบเสมือนยีนเพื่อบ่งบอกลักษณะของ โครโมโซม Q 8 4 1 3 6 2 7 5

การสร้างประชากรต้นกำเนิด ประชากรต้นกำเนิดเรียกว่า “Initial Population” เกิดจากการสุ่ม (Random) กลุ่มโครโมโซมขึ้นมาจำนวนหนึ่งเรียกว่า ประชากร (Population) ประชากรกลุ่มนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นสำหรับถ่ายทอดพันธุกรรมให้กับรุ่นต่อไป การสร้างประชากรต้นกำเนิด จะต้องกำหนด พารามิเตอร์ขนาดของ ประชากร ให้เหมาะสม ขนาดของประชากร (Population Size) อัตราการไขว้เปลี่ยน (Crossover Rate) อัตราการกลายพันธุ์ (Mutation Rate)

ค่าความเหมาะสม (ร้อยละ) ฟังก์ชันความเหมาะสม ฟังก์ชันความเหมาะสม (Fitness function : f) เป็นฟังก์ชันที่ใช้วัดความเหมาะสมของโครโมโซมที่สามารถอยู่รอดเพื่อนำไปขยายพันธุ์ ต่อได้ ลักษณะของฟังก์ชันความเหมาะสมจะมีสมการคณิตศาสตร์พื้นฐานหลายรูปแบบ สำหรับบอกความเหมาะสมของโครโมโซม ขึ้นอยู่กับแต่ละปัญหาที่พิจารณา ตัวอย่าง fitness function ฟังก์ชันความเหมาะสมที่บ่งบอกผลลัพธ์เป็น 0 หรือ 1 เท่านั้น ฟังก์ชันความเหมาะสมที่บ่งบอกผลลัพธ์เป็นร้อยละ ประชากรต้นกำเนิด คุณภาพของโครโมโซม ค่าความเหมาะสม (ร้อยละ) โครโมโซม A 5 25 โครโมโซม B 7 35 โครโมโซม C 2 10 โครโมโซม D 6 30

การคัดเลือก (Selection) การเลือกทางธรรมชาติ เป็นกระบวนการคัดสรรสิ่งมีชีวิตที่เหมาะกับ สภาพแวดล้อม ซึ่งสิ่งมีชีวิตที่ถูกคัดเลือกจะสามารถดำรงชีวิต และขยายพันธุ์ ต่อไปได้ GA ได้นำหลักการนี้มาคัดเลือกโครโมโซมที่เหมาะสมจากประชากรต้น กำเนิด เพื่อนำไปเป็นโครโมโซมพ่อ และแม่ เพื่อสร้างเป็นโครโมโซมลูกใน รุ่นถัดไป หลักการคัดเลือกโครโมโซมที่เหมาะสมส่วนใหญ่จะใช้วิธี Roulette wheel

การคัดเลือก (Selection) ประชากรต้นกำเนิด คุณภาพของโครโมโซม ค่าความเหมาะสม (ร้อยละ) โครโมโซม A 5 25 โครโมโซม B 7 35 โครโมโซม C 2 10 โครโมโซม D 6 30 สุ่มเลือกโครโมโซมจากวงล้อ โครโมโซมที่มีค่าความเหมาะสมมากมี โอกาสที่จะถูกเลือกมากกว่า

การไขว้เปลี่ยน (Crossover) การไขว้เปลี่ยนโครโมโซมในทางพันธุศาสตร์ จะเกิดขึ้นหลังจากสิ่งมีชีวิตผสมพันธุ์กัน โดยโครโมโซมพ่อจะจับตัวกับโครโมโซมแม่เพื่อรวมโครโมโซม ใน GA จะนำเอาโครโมโซมที่ผ่านการคัดเลือก 2 ตัวมากับคู่กันเพื่อสร้างโครโมโซมลูก ขึ้นมา การไขว้เปลี่ยนโครโมโซมมี 2 แบบใหญ่ๆคือ การไขว้เปลี่ยนแบบจุดเดียว การไขว้เปลี่ยนแบบสองจุด

การไขว้เปลี่ยนแบบจุดเดียว จุดเป็นการ สุ่ม จุดตัดขึ้นมาเพียงจุดเดียวบนโครโมโซมพ่อกับโครโมโซมแม่ เพื่อใช้เป็นจุดไขว้เปลี่ยน โครโมโซมพ่อ โครโมโซมแม่ 1011 1011 1111 1111 0001 0001 0000 0000 CROSSOVER

การไขว้เปลี่ยนแบบ 2 จุด จะสุ่มจุดตัดขึ้นมา 2 จุดบนโครโมโซมพ่อและแม่ และไขว้เปลี่ยนข้อมูลที่อยู่ ระหว่างจุดตัดทั้ง 2 โครโมโซมพ่อ โครโมโซมแม่ 10 10 1111 1111 11 11 00 00 0100 0100 00 00 CROSSOVER

การกลายพันธุ์ (Mutation) การกลายพันธุ์ในทางพันธุศาสตร์ มักจะเกิดขึ้นหลังจากกระบวนการไขว้ เปลี่ยนโครโมโซม แต่จะมีโอกาสเกิดขึ้นน้อยมาก ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เกิดการกลายพันธุ์ จะแตกต่างจากพ่อละแม่โดย สิ้นเชิง เนื่องจากมียีนบางส่วนภายในโครโมโซมเกิดการกลายพันธุ์ ใน GA ได้อาศัยหลักการการกลายพันธุ์เพื่อมาช่วยในการสร้างคำตอบใหม่ โดยจะยอมให้ค่าในโครโมโซมสามารถกลายพันธุ์ได้ ตำแหน่งในโครโมโซมที่ จะกลายพันธุ์ จะมาจากการสุ่ม และจะต้องกำหนดระดับของการกลายพันธุ์ ด้วย สำหรับ ไบนารีโครโมโซม การกลายพันธุ์ คือการเปลี่ยนจากค่า 0 เป็น 1 และ 1 เป็น 0

การกลายพันธุ์ โครโมโซมพ่อ โครโมโซมแม่ 10 10 1111 1111 11 11 00 00 0110 0100 00 00 CROSSOVER 1

ตัวอย่างการใช้งาน GA แก้ปัญหา 8-Queen ตัวอย่างจะใช้เลขจำนวนเต็มในข้อมูลของโครโมโซม ใช้วิธีไขว้เปลี่ยนแบบจุดเดียว (single point crossover) กำหนดค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้ กำหนดขนาดของประชากรเป็น 4 อัตราการไขว้เปลี่ยนเป็น 1 (หมายถึงไขว้เปลี่ยนทุกๆครั้ง) อัตราการกลายพันธุ์เป็น 1/8 = 0.125 (จะมีอย่างมาก 1 ข้อมูลใน โครโมโซมที่ถูกกลายพันธุ์)

ตัวอย่าง : สร้างประชากรเริ่มต้น โครโมโซม A 2 4 7 8 5 Q โครโมโซม B 3 2 7 5 4 1 โครโมโซม C 2 4 1 5 โครโมโซม D 3 2 5 4 1

ตัวอย่าง : หาค่าความเหมาะสม (1) หาจากสูตร Q(n) = 28 – n 28 มาจากจำนวน Queen บนกระดานจะโจมตีกันได้มากสุด 28 วิธี n มาจากจำนวนที่ Queen ในโครโมโซมนั้นโจมตีกันได้ ถ้า Q(n) = 0 หมายถึงไม่ดี ถ้า Q(n) = 28 หมายถึงผลลัพธ์ที่ต้องการ โครโมโซม A 2 4 7 8 5 โครโมโซม B 3 2 7 5 4 1 โครโมโซม C 2 4 1 5 โครโมโซม D 3 2 5 4 1

ตัวอย่าง : หาค่าความเหมาะสม (2) โครโมโซม A 2 4 7 8 5 Q มีทั้งหมด 4 คู่ที่โจมตีกันได้ QA = 28 – 4 = 24 โครโมโซม B QB = 23 3 2 7 5 4 1 โครโมโซม C 2 4 1 5 Qc = 20 โครโมโซม D 3 2 5 4 1 QD = 11

ตัวอย่าง : กระบวนการคัดเลือกโครโมโซม เมื่อเรียงค่าความเหมาะสมของโครโมโซม A, B, C และ D โครโมโซม A 2 4 7 8 5 QA = 24 ร้อยละ 31 โครโมโซม B 3 2 7 5 4 1 QB = 23 ร้อยละ 29 โครโมโซม C Qc = 20 ร้อยละ 26 2 4 1 5 โครโมโซม D QD = 11 ร้อยละ 14 3 2 5 4 1 โครโมโซม B 3 2 7 5 4 1 โครโมโซม A 2 4 7 8 5 โครโมโซม B 3 2 7 5 4 1 โครโมโซม C 2 4 1 5

ตัวอย่าง : กระบวนการไขว้เปลี่ยนโครโมโซม 3 2 7 5 4 1 3 2 7 4 8 5 2 4 7 8 5 2 4 7 5 1 3 2 7 5 4 1 3 2 7 5 1 4 2 4 1 5 2 4 1 5

ตัวอย่าง : กระบวนการกลายพันธุ์ อัตราการกลายพันธุ์เป็น 1/8 = 0.125 (จะมีอย่างมาก 1 ข้อมูลในโครโมโซมที่ถูกกลายพันธุ์) 3 2 7 4 8 5 3 2 7 4 8 1 5 2 4 7 5 1 2 4 7 5 1 3 2 7 5 1 4 3 2 5 1 4 2 4 1 5 2 4 1 5 7