บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
หลักและทฤษฏีกฎหมายมหาชน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
Stress and Coping with Stress among Youths in the Child and
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ขอบเขตการศึกษาวิชารัฐประศาสน ศาสตร์. โครงสร้างและอำนาจ หน้าที่ ขอบเขตการศึกษาวิชารัฐ ประศาสนศาสตร์ บุคลากร กระบวนการ.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
หน่วยที่1 แนวคิดการจัดการและองค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการบุคลากรทรัพยากรมนุษย์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
องค์การและการจัดการ Organization and Management
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การบริหารจัดการองค์การ
บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ.
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
รายวิชา การบริหารการศึกษา
แนวคิดทางการจัดการ.
แนวความคิดและทฤษฎีการจัดการ Concept and Management Theory
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ

ความหมาย ทฤษฎีองค์การ เป็นการศึกษาในระดับมหภาคเกี่ยวกับองค์การ โดยมี ระดับการวิเคราะห์อยู่ในระดับองค์การ โดยมีลักษณะที่สำคัญดังนี้ ศึกษาถึงพฤติกรรมองค์การในภาพรวม ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์การกับสิ่งแวดล้อมภายนอก และทฤษฎีโครงสร้าง ตามสถานการณ์ ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์การหนึ่งกับองค์การหนึ่ง ประโยชน์ในการศึกษาทฤษฎีองค์การ ทำให้เข้าใจความเป็นไปขององค์การ ความสัมพันธ์ต่าง ๆ เข้าใจถึงพฤติกรรม ของมนุษย์ในองค์การ ช่วยให้สามารถวิเคราะห์ปัญหา แก้ไขปัญหาในองค์การได้ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

แผนภูมิแสดงประโยชน์ในการศึกษาทฤษฎีองค์การ เข้าใจปรากฏการณ์ ออกแบบโครงสร้างองค์การ ประยุกต์เทคนิคการจัดการ ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ สมาชิกมีสุขภาพดี เข้าใจพฤติกรรมมนุษย์ การเปลี่ยนแปลง ตอบสนองความต้องการสังคม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

ประเภทของทฤษฎีองค์การ ใช้จุดกำเนิดของทฤษฎีเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง แบ่งได้ 2 ประเภท กลุ่มนักปฏิบัตินิยม กลุ่มนักวิชาการนิยม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีองค์การ แนวคิดที่ใช้หลักวิทยาศาสตร์ เน้นกฎระเบียบ ควบคุม ลักษณะเป็นองค์การเครื่องจักร เป็นทฤษฎี องค์การแบบปิด หรือแบบ คลาสสิค แนวคิดในเชิงพฤติกรรมศาสตร์ เน้นความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร สนใจในความรู้สึก อารมณ์ ความ นึกคิด ความต้องการ เป็นองค์การแบบสิ่งมีชีวิต แนวคิดที่เน้นเรื่องระบบ เน้นภาพรวม มองความสัมพันธ์องค์การกับสิ่งแวดล้อม คำนึงถึงความ ซับซ้อนขององค์กร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

ทฤษฎีองค์การหลัก ตามวิธีการสมัยดั้งเดิม หรือ แบบคลาสสิค ตามวิธีการพฤติกรรมศาสตร์ ตามวิธีการสมัยใหม่ หลังยุคสมัยใหม่ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

ทฤษฎีองค์การสมัยดั้งเดิม การจัดการยุคแรกสุดเกิดสมัยอียิปต์ กรี โรมัน วางแนวทางการทำงานไว้ 5 อย่างคือ - ความเป็นสัดส่วน - ความรับผิดชอบ - การตรวจสอบ - การแนะนำของบุคลากรที่ทำงานร่วมกัน - การใช้อำนาจหน้าที่ การจัดการช่วง ศตวรรษที่ 19 เป็นทฤษฎีประเพณีนิยม - หลักแบ่งงานกันทำ (อดัม สมิธ) - เน้นความชำนาญเฉพาะด้าน ให้ความสำคัญกับกฎเกณฑ์ ไม่ยึดหยุ่น - เน้นประสิทธิภาพ และประสิทธิผล (มอง input & output) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

แนวคิดทฤษฎีองค์การสมัยดั้งเดิม แบบวิทยาศาสตร์ของ เฟรดเดอร์ริค ดับบลิว เทย์เลอร์ (Frederick W Taylor) –บิดาแห่งการ จัดการแบบวิทยาศาสตร์ เกิดหลักการทำงาน 4 ข้อ ในเรื่อง หลักการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (principle of scientific management) การทำงานเป็นระบบ คัดเลือกและพัฒนาคนงานด้วยหลักวิทยาศาสตร์ นำหลักวิทยาศาสตร์มาใช้กับคนที่ถูกคัดเลื่อก จัดสรรงานระหว่างฝ่ายบริหารและคนงาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

Federick Winslow Taylor เฟรดเดอร์ริค ดับบลิว เทย์เลอร์ “ บิดาแห่งการจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์” เสนอหลักการที่สำคัญคือ 1. ต้องใช้วิธีการทำงานที่ดีที่สุด “One Best Way” 2. ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการ จัดการงานบุคคล ( Training and Development) 3. ให้พนักงานทำตามขั้นตอน/วิธีที่กำหนดไว้ 4. แบ่งความรับผิดชอบในงานอย่างชัดเจน(ผู้จัดการ กับ ลูกน้อง) เน้นคนเหมือนเครื่องจักร การศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหวในการทำงาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

แนวคิดทฤษฎีองค์การสมัยดั้งเดิม องค์การเชิงบริหารของ อองรี ฟาโยล (Fayol) –บิดาแห่งการบริหารจัดการยุคใหม่ เกิดหลักการทำงาน 5 ประการ คือ “OSCAR” วัตถุประสงค์ (O) ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (S) การประสานงาน (C) อำนาจหน้าที่ (A) ความรับผิดชอบ (R) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

Henri Fayol เสนอหลักการจัดการ 14 ข้อ 1. การแบ่งงานกันทำ (Division of work) 2. อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (Authority and Responsibility) งานที่ได้รับ มอบหมายคือความรับผิดชอบต่องานนั้น 3. การมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว (Unity of Command) 4. การมีเป้าหมายอย่างเดียวกัน (Unity of Direction) 5. การจัดลำดับสายงาน (Scalar Chain) สายการบังคับบัญชาจากสูงลงต่ำ 6. ระเบียบวินัยในองค์การ (Disciplines) ข้อบังคับ และ แนวทางในการปฏิบัติตัว และ ปฏิบัติงาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

7. การถือประโยชน์ส่วนมากมากกว่าบุคคล (Subordination of Individual interest to general interest) 8. การรวมอำนาจ (Centralization) ที่ผู้จัดการระดับสูง 9. ความเป็นระเบียบ (Order) ขอบเขตการปฏิบัติงานที่ชัดเจน 10. การจ่ายผลประโยชน์ตอบแทน (Remuneration) อย่างเป็นธรรม 11. ความเป็นธรรม (Equity) ยุติธรรมไม่เลือกปฏิบัติ 12. ความต่อเนื่องของแรงงาน (Stability of Tenure of Personnel) ต้องระวังการเข้าออก ของพนักงาน 13. ความคิดริเริ่ม (Initiative) โดยเปิดโอกาสให้พนักงานแสดงความคิดเห็น 14. ความสามัคคี (Esprit De Corp) ทำงานเป็นทีม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

Henry Gantt 1. แผนภูมิแกนท์ (Gantt Chart) เสนอแนวคิด ตารางเปรียบเทียบเวลากับกิจกรรมที่ทำ ระบบที่ดีที่สุดขึ้นอยู่กับการจัดตารางเวลา 2. ระบบการจ่ายโบนัส (Incentive System) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. 1. เสนอโครงการ 2. เก็บข้อมูล 3.ประมวลผล คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

Max Weber ทฤษฏีการจัดการองค์การที่เป็นทางการ (Bureaucracy) 1. การแบ่งงานกันทำ 2. การจัดลำดับชั้นในการบังคับบัญชา 3. การปฏิบัติงานภายใต้กฎระเบียบขององค์กร 4. การตัดสินใจโดยผู้จัดการระดับสูง 5. ใช้ระบบคุณธรรมในการเลือกพนักงาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

แนวคิดทฤษฎีองค์การตามวิธีพฤติกรรมศาสตร์ กลุ่มมนุษย์สัมพันธ์ มองว่ามนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่ก่อให้เกิด ประสิทธิภาพ กลุ่มกลุ่มพฤติกรรมองค์การสมัยปัจจุบัน เน้นเข้าใจในตัวบุคคล (organic) ไม่ให้ความสนใจองค์กรเลย (man without organization) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

Elton Mayo หลังจาก Mayo ได้ทำการศึกษาที่ Hawthorne ได้เสนอแนวคิดคือ 1. คนงานเป็นสิ่งที่มีชีวิต จิตใจ ขวัญกำลังใจจึงเป็นเรื่องสำคัญ 2. การทำงานขึ้นกับสภาพทางกายภาพและความสัมพันธ์ทางสังคม 3. รางวัลทางจิตใจกระตุ้นการทำงานได้ดีกว่ารางวัลทางเศรษฐทรัพย์ 4. การแบ่งงานกันทำอาจไม่ช่วยให้ประสิทธิภาพการทำงานดีขึ้นเสมอไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

Abraham Maslow เสนอแนวคิดคือ 1. มนุษย์มีความต้องการเรื่อย ๆ ไปและไม่สิ้นสุด 2. ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้วจะไม่มีอิทธิพลต่อการจูงใจอีก 3. ความต้องการของคนมีลำดับขั้น ดังนี้ - ความต้องการทางกายภาพ (Physiological Needs) เช่น อากาศ, อาหาร, น้ำ, เครื่องนุ่งห่ม,นอนหลับ,ที่พักอาศัย - ความต้องการความปลอดภัย (Safety Need) เช่น ความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัยจากสิ่งๆต่างๆ , ความเจ็บปวด - ความต้องการทางสังคม (Social Need) - ความต้องการได้รับการยกย่อง (Esteem Need) - ความต้องการประสบความสำเร็จ (Self-Actualization) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

Douglas McGregor ทฤษฎี X คือการมองพนักงานในเชิงลบ เช่น คนเกียจคร้านไม่ชอบทำงาน มีความทะเยอทะยานต่ำ ชอบให้บังคับ สั่งให้ทำงาน ใช้ปัจจัยพื้นฐาน เช่น เงิน เป็นเครื่องมือจูงใจ ทฤษฎี Y คือการมองพนักงานในแง่ดี เช่น มีความรับผิดชอบ คิดอย่างสร้างสรรค์ ควบคุมตนเองได้ กระตือรือร้น ใช้ความสำเร็จ ความท้าทาย ในการจูงใจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

แนวคิดทฤษฎีองค์กรสมัยใหม่ แนวคิดเน้นโครงสร้างองค์การเชิงระบบ แนวคิดเน้นโครงสร้างองค์การตามสถานการณ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

แนวคิดทฤษฎีองค์การหลังยุคสมัยใหม่ เป็นทฤษฎีที่มองโลกไร้พรมแดน ยอมรับว่าองค์การอยู่ภายใต้การเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะทางเทคโนโลยี นักทฤษฎีที่เด่น ๆ ได้แก่ Hammer & Champy เจ้าของแนวคิดการ Re- engineering คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th

แนวคิดทฤษฎีองค์การหลังยุคสมัยใหม่ ลักษณะของ Re-engineering คือ เน้นทำงานเป็นทีม พนักงานทำงานได้หลายมิติ เน้นอบรม แต่ต้องศึกษาอย่างจริงจังละเอียดและ ลึกซึ้ง พนักงานมีบทบาทในการตัดสินใจมากขึ้นไม่เป็นแค่เป็นผู้ถูกควบคุม ผู้บริหารเน้นงานการโน้มน้าวและจูงใจ ทำให้เกิดองค์การในลักษณะต่าง ๆ เช่น องค์กรเสมือนจริง องค์การแห่งการ เรียนรู้ องค์การคุณภาพ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://wwww.ssru.ac.th