เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ร้อยละ 66

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
โย โดย นางจารินี คูณทวีพันธุ์ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
Excellence ที่ 1 Prevention & Promotion Excellence
ก้าวต่อไปในการดำเนินงานโครงการสำคัญ
กลุ่มที่ 2 เด็กวัยเรียน.
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
สถานการณ์และผลการดำเนินงาน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
Cluster วัยเรียน ปีงบประมาณ 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ร้อยละ 66 KPI 6 เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ร้อยละ 66 ส่วนสูงเฉลี่ยเด็กอายุ 12 ปี ช 151 ญ 152 2558 ชาย 149.07 หญิง 150.66 2559 ชาย 149.76 หญิง 151.36 2560 ชาย 150.47 หญิง 151.66 ภาวะโภชนาการ 2558 2559 2560 เขต ประเทศ สูงดี สมส่วน 65.61 69.86 65.81 62.86 65.19 เริ่มอ้วนและอ้วน 8.72 12.75 11.60 13.72 11.15 เด็กวัยเรียน หมายถึง : เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปี จนถึง 14 ปีเต็ม – 14 ปี 11 เดือน 29 วัน NOW 69.48 9.97 สูงดี หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป เมื่อเปรียบเทียบกราฟการเจริญเติบโต กรมอนามัย ปี 2542 มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ-1.5 SD ของส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ ชาย 154 เซ็นติเมตร หญิง 155 เซ็นติเมตร ข้อมูลราย รร. สูงดีสมส่วน หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป และมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน (ในคนเดียวกัน) ส่วนสูงเฉลี่ย หมายถึง ค่าเฉลี่ยของส่วนสูงในเด็กชายและเด็กหญิง อายุ 12 ปี (เด็กอายุ 12 ปีเต็ม ถีง 12 ปี 11 เดือน 29 วัน) สมส่วน หมายถึง เด็กที่มีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วนเมื่อเปรียบเทียบกราฟการเจริญเติบโตกรมอนามัยปี ปี 2542 มีค่าระหว่าง+1.5 SD ถึง -1.5 SD ของน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง

กิจกรรมหลัก 1.ส่งเสริม สนับสนุน การนำนโยบาย "การจัดการภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน“ และนโยบาย "ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้" สู่การปฏิบัติระดับจังหวัด และกำหนดแนวทาง 2.พัฒนาคุณภาพข้อมูลชั่ง นน. วัดส่วนสูงและประเมิน ภาวะโภชนาการที่นำเข้าจากหน่วยงาน 3.จัดทำฐานข้อมูล จำนวน รายชื่อ โรงเรียนที่มีปัญหาเริ่มอ้วนและอ้วน มากกว่าร้อยละ 10 6.ส่งเสริมวางแผนและแนวทางการแก้ปัญหา ใน รร.ที่มีแก้ไขปัญหาเด็กที่มีปัญหา เริ่มอ้วนและอ้วน มากกว่าร้อยละ 10 7.พัฒนาคุณภาพข้อมูลชั่ง น.น.วัดส่วนสูงและประเมินภาวะโภชนาการรายงาน HDC ตาม ระยะเวลาที่กำหนดใน Template 8.ขับเคลื่อนบูรณาการแก้ปัญหา เด็กที่มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วนผ่านกลไก DHB 9.ประสานครูในโรงเรียนมาทำการคัดกรอง Obesity 10..มีการส่งต่อเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง (Obesity) ได้รับการส่งต่อ 11.ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง โรงเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน เกินร้อยละ 10

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร จำนวนโรงเรียนที่ผ่านมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร ปี 2560 Base line data เป้าหมาย ปี 61 ปี 58 ปี 59 ปี 60 1 2 3 มาตรการ 1.พัฒนาความร่วมมือของเครือข่าย นอกกระทรวงสาธารณสุข(ศึกษาธิการ/พม.) 2.สร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย ระดับโรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น ระดับตำบล 3.พัฒนาศักยภาพบุคลากรครู/สาธารณสุขการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 4.พัฒนาคุณภาพอาหารของเด็กวัยเรียนในโรงเรียน/รอบรั้วโรงเรียน ครอบครัวและชุมชน 5.ส่งเสริมการออกกำลังกายในเด็กวัยเรียนและจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อ 6.ส่งเสริมการดื่มนมรสจืดในเด็กวัยเรียน 2 แก้ว/วัน คัดกรองสายตาเด็ก ป.1 เป้าหมาย 8,000 ราย คีย์ข้อมูล 2,000 ราย≈25 % โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร การดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพปี 2560 พบว่าทุกอำเภอมีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ทุกอำเภอยกเว้น อำเภอทรายทองวัฒนา และอำเภอบึงสามัคคี ซึ่งมีโรงเรียนพร้อมที่จะพัฒนาเป็นระดับเพชร ในปี 2561 ต่อไป จังหวัดมีแผนที่จะจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการดำเนินงานตามเกณฑ์ชีวัด 19 ตัว โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร แก่โรงเรียนที่จะรับการประเมินระดับเพชร สมัยที่ 2 และโรงเรียนที่พร้อมพัฒนาเป็นโรงเรียนระดับเพชร จำนวน 15 โรงเรียน มาตรการ 1.พัฒนาความร่วมมือของเครือข่าย นอกกระทรวงสาธารณสุข(ศึกษาธิการ/พม.) 2.สร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย ระดับโรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น ระดับตำบล 3.พัฒนาศักยภาพบุคลากรครู/สาธารณสุขการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ประเด็นมุ่งเน้นอาหาร กิจกรรมทางกายและสิ่งแวดล้อม 4.พัฒนาคุณภาพอาหารของเด็กวัยเรียนในโรงเรียน/รอบรั้วโรงเรียน ครอบครัวและชุมชน 5.ส่งเสริมการออกกำลังกายในเด็กวัยเรียนและจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการออกกำลังกาย 6.ส่งเสริมการดื่มนมรสจืดในเด็กวัยเรียน 2 แก้ว/วัน 3 3 3