เครื่องมือการทำงาน ผศ.อัญมณี บูรณกานนท์ ผศ.โสภา อ่อนโอภาส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
สาเหตุการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนหญิง ในลักษณะความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ศึกษาเฉพาะกรณีศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบ้านปราณี ผู้วิจัย สุวาทินี
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
Stress and Coping with Stress among Youths in the Child and
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โครงงานจิตอาสา เรื่อง … เล่านิทานให้น้องฟัง จัดทำโดย กลุ่มจิตอาสา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ / ๓.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
SMS News Distribute Service
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การติดตาม (Monitoring)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องมือการทำงาน ผศ.อัญมณี บูรณกานนท์ ผศ.โสภา อ่อนโอภาส โดย ดารณี นฤดมพงศ์ ประมวลรวบรวมจาก ผศ.อัญมณี บูรณกานนท์ ผศ.โสภา อ่อนโอภาส ณัฐวดี ณ มโนรม และ นุชนาฎ ยูฮันเงาะ

เครื่องมือการปฏิบัติงาน นักสังคมสงเคราะห์ที่ดีควรต้องมีเครื่องมือซึ่งสามารถ เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม ในที่นี้ขอเสนอเครื่องมือการ ปฏิบัติงานที่ช่วยประเมินครอบครัวให้มีความชัดเจนมากขึ้น ดังนี้ 1. แผนผังครอบครัวหรือสาแหรกครอบครัว 2. แผนผังสังคมมิติ

1.แผนผังครอบครัวหรือสาแหรกครอบครัว (Genogram or Family tree) แผนผังครอบครัวให้รายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลหลาย ด้าน เหตุการณ์สำคัญต่างๆในช่วงชีวิต หรือแม้แต่สัตว์ เลี้ยง หรือสิ่งสำคัญของชีวิต ข้อดี ผู้ให้บริการจะได้ข้อมูล ในอดีตซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับปัญหาในปัจจุบัน ทำให้เข้าใจ สถานการณ์และปัญหาของครอบครัวดีขึ้น และวางแผน แทรกแซงที่เหมาะสมขึ้นครอบครัวก็อาจเรียนรู้บางสิ่ง บางอย่างขณะมองย้อนกลับไปในอดีตเพื่อจัดทำแผนผัง ครอบครัว

แผนผังครอบครัวถูกพัฒนาขึ้นและใช้ในงานด้านการแพทย์โดย Monica McGoldrick and Randy Gerson ซึ่งได้แต่งหนังสือเรื่อง Genograms: Assessment and Intervention  ในปีคศ.1985 ปัจจุบันวิชาชีพต่างๆได้ประยุกต์ใช้แผนผัง ครอบครัวกับงานของตนเองเช่น แพทย์ จิตแพทย์ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักการศึกษาและอื่นๆอีกมาก

นักสังคมสงเคราะห์ ใช้แผนผังครอบครัวเพื่อการ แสดงถึงความสัมพันธ์ทางด้านความผูกพันเชิงอารมณ์ สังคมระหว่างสมาชิกครอบครัวหรือหน่วยสังคมที่ บุคคลนั้นเกี่ยวข้อง แผนผังครอบครัวจะช่วยให้ นักสังคมสงเคราะห์ ประเมินระดับความสัมพันธ์ ความผูกพันหรือ ความใกล้ชิดของสมาชิกใน ครอบครัวและเครือญาติ และสะท้อนข้อมูลบางอย่าง กลับไปสู่ผู้ใช้บริการ

เทคนิคการเขียนแผนผังครอบครัวที่ดีควรให้ ผู้ใช้บริการร่วมเขียนหรือตรวจสอบความถูกต้องจะได้ เป็นการทบทวนความสัมพันธ์กับครอบครัว อีกทั้งการ เขียนแผนผังครอบครัวจะทำให้เกิดความกระจ่างชัด ในการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบและชัดเจนโดย ผ่านสัญลักษณ์ต่างๆที่สำคัญๆมีดังนี้

สาแหรกครอบครัว FAMILY TREE Female Male Unknown 36 40 21 19 17 16 14 11 8 5 7m 7m Female สาแหรกครอบครัว FAMILY TREE Male Unknown

แผนผังครอบครัว

2. แผนผังสังคมมิติ/แผนผังนิเวศน์ (Ecological Mapping) แผนผังสังคมมิติถูกพัฒนาขึ้นโดย Ann Hatman ซึ่งเปรียบเหมือนเครื่องมือตรวจจับ ความสัมพันธ์ของผู้ใช้บริการกับสภาวะแวดล้อมที่ สำคัญของเขา แสดงความสัมพันธ์ของผู้ใช้บริการ กับองค์กรที่ช่วยเหลือยามทุกข์ยาก

การเขียนแผนผังสังคมมิติมี 6 ขั้นตอน การเขียนแผนผังสังคมมิติมี 6 ขั้นตอน 1. วาดวงกลมตรงแผนที่ว่างๆ ด้วยวงกลมรอบๆ ส่วนตรง กลางเป็นผู้ใช้บริการถ้าเป็นผู้หญิงใช้ O ถ้าเป็นผู้ชายใช้ สัญลักษณ์  แทนผู้หญิงหรือผู้ชายคนเดียว แต่ถ้า ผู้ใช้บริการเป็นกลุ่มครอบครัวใช้วงกลมหรือสี่เหลี่ยมหลายอัน ซ้อนกัน ลากเส้นความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้บริการกับคน อื่นๆ (เส้นจะเป็นตัวอธิบายความสัมพันธ์ ส่วนในวงกลม หรือ สี่เหลี่ยมก็เขียนชื่อ อายุของผู้ใช้บริการ)

2.สัมภาษณ์พูดคุยกับผู้ใช้บริการถึงบุคคล หน่วยงานที่เป็นสิ่งแวดล้อมที่สำคัญในชีวิตเขา ผู้ใช้บริการเอ่ยถึงสิ่งแวดล้อมใดๆทั้งในแง่บวกหรือลบ ก็จดรายชื่อไว้ หากกลัวจะเสียเวลาในการนึกถึงสิ่งแวดล้อม ผู้จัดการรายกรณี อาจจัดเตรียมแผนผังสังคมมิติได้โดยระบุ ครอบครัว ญาติ เพื่อน เพื่อนบ้าน ฯ เตรียมไว้ก่อน

3. คุยกับผู้ใช้บริการถึงประสบการณ์ที่มีกับสิ่งแวดล้อมแต่ ละอย่างโดยพิจารณาถึงความสัมพันธ์ต่อเนื่องหรือขาดตอน การรู้สึกสบายใจ สะดวกหรือน่ากลัว ความมีสมดุลหรือไม่มี สมดุลของสัมพันธภาพกับบุคคลหรือสิ่งแวดล้อม อย่าถาม ตรงๆว่ามีความสัมพันธ์อย่างไรแต่ให้ใช้วิธีเล่าประสบการณ์ การติดต่อสัมพันธ์กับแหล่งบริการหรือบุคคลนั้นๆ แล้วให้ ลากเส้นแสดงความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเหล่านั้น

สัญลักษณ์แสดงความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์เข้มแข็งและต่อเนื่อง _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ความสัมพันธ์ไม่ต่อเนื่องนานๆครั้ง (ห่างเหิน) / / / / / / / / / / / / / / / ความสัมพันธ์บีบคั้น กดดัน แสดงทิศทางความสัมพันธ์ว่าสมดุลหรือไม่สมดุล

4. เมื่อสังคมมิติสำเร็จแล้วควรตรวจสอบความ ถูกต้องกับผู้ใช้บริการอีกครั้งเพื่อทบทวนความแม่นยำ ของข้อมูลและอาจมีข้อแก้ไข แผนที่สังคมมิตินี้เป็นแผนภาพที่แสดง ความสัมพันธ์ในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น อาจมีการ เปลี่ยนแปลงได้อีกเมื่อเวลาผ่านไป

5. ประเมินผลและถามความประทับใจของผู้ใช้บริการในภาพกว้าง คุณค่าของแผนที่สังคมมิติ คือ การให้ภาพกว้างๆ ของความสัมพันธ์ ของสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่มีตัวผู้ใช้บริการได้ภายในแผนภูมิเดียว พึงระลึกไว้ เสมอว่าภาพกงล้อและซี่ล้อที่เกิดขึ้นนั้นเป็นตัวแทนของเครือข่าย สังคมมิติทำให้เราเห็นภาพความสัมพันธ์ของแต่ละซี่กับศูนย์กลางแต่ ไม่ได้ให้รายละเอียด คุณลักษณะที่จะตรวจสอบแต่ละซี่ ถามผู้ใช้บริการว่าเขาเห็นอะไรจากแผนที่อันนี้ ให้เขาอธิบายเพิ่มเติม แล้วผู้จัดบริการคอยสรุปความเห็นเหล่านั้นในการประเมินภาพรวมต้องดูว่ามี ความสมดุลระหว่างความสัมพันธ์หรือไม่ มีความพึงพอใจอะไร มีการ แลกเปลี่ยนความสัมพันธ์อย่างไร

6. นักสังคมสงเคราะห์ประเมินด้วยความเป็นกลางแล้วจัดทำแผนการ ช่วยเหลือซึ่งแผนนั้นซึ่งอาจเป็น - สร้างสัมพันธภาพกับสิ่งแวดล้อมที่ผู้บริการไม่มีความสัมพันธ์ - สร้างความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งขึ้นกับสิ่งแวดล้อมที่มีความสัมพันธ์ ห่างเหิน - ลดความกดดัน บีบคั้นหรือความเครียดจากสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ - เพิ่มศักยภาพความสามารถกับสิ่งที่ต้องการหรือปรับความต้องการ ลงให้สมดุลย์

เพื่อนร่วมห้อง ผู้ใหญ่บ้าน

สังคมมิติ (Ecological Map)

สังคมมิติ (Ecological Map)

Case Time line Oct 2005 Jan 20006 End of Apr 2006 Apr 2006 31 Jul 2006 March 2005 Oct 2005 25 May 2005 Aug 2005 21 Oct 2005 รพ.รับเด็กเข้ารักษา แจ้งแม่เด็กมาพบและชี้แจงเรื่องการแยกเด็ก แยกเด็กเข้าสหทัย แม่ไปอาละวาดที่ รับเด็กไปดูแล เจ้าหน้าที่รับเด็ก กลับสถานดูแล แม่เด็กคลอดลูกคนที่ 10 Jan 20006 End of Apr 2006 Apr 2006 31 Jul 2006 แม่เด็กเอาลูกคนที่ 10 มาฝากสหทัย แม่เด็กรับเด็กกลับไปดูแล โดยทำข้อตกลงกับบ้านพักเด็กและครอบครัว แม่เด็กให้ จนท. ไปรับเด็ก เพราะเด็กงอแง ดูแลไม่ได้ แม่เด็กอาละวาดที่ เพื่อขอรับเด็กกลับ ยื่นคำร้องศาลเยาวชนฯ สั่งให้ แม่เด็กไปรับการบำบัด/ห้ามเข้า/ให้พาเด็กไปโรงเรียน 15 Dec 2006 23 Jan 2007 26 Jan 2007 29 Jan 2007 Aug 2006 Sept 2006 ยื่นคำร้องเพิ่มเพราะไม่ยอมบำบัด / ศาลอนุญาตให้เยี่ยมลูก แม่เด็กไปเยี่ยมลูกที่ รพ และเอามีดไปด้วย (ก่อนหน้านี้ขู่ จนท.ว่าจะเอามีดมาทำร้าย) แม่เด็กทำร้ายเจ้าหน้าที่ และฝ่าฝืนคำสั่งห้ามเข้าเขต เพื่อให้คืนลูก เจ้าหน้าที่แจ้งตร. นำตัวไปขัง 7 วัน / รายงานศาล ศาลสั่งให้ไปบำบัดที่ รพศรี 2 เดือน แม่เด็กเยี่ยมเด็กและเอามีดไปด้วย 31 July 2007 3 Aug 2007 23 Mar 2007 17 May 2007 30 May 2007 30 June 2007 มีคำสั่งขยายระเวลาบำบัดอีก2 เดือน (สิ้นสุด 27 พ.ค.50) ควบคุมตัวพ่อเด็กไปบำบัดที่โรงพยาบาลศรี ยื่นรายงานและขอคุมประพฤติต่ออีก 1 ปี แม่เด็กออกจาก รพ. ศาลมีคำสั่งคุมประพฤติต่ออีก 1 ปี

Life line เกิดPTSD Attachment disorder พบPTSD เข้าบ้านแรกรับ 15 6 12 8 9 12 บ้านฟื้นฟู 13 Turning point เกิด ปัจจุบัน ป้าข้างบ้าน-บิดาเลี้ยงสลับกันดูแล ถูกมัดบนศาลาและ ถูกกระทำทารุณทางเพศ โดยบิดาเลี้ยง อยู่กับมารดา ขาดรัก low self esteem มีปัญหาการเรียนรู้ อ่าน เขียน คำนวณ ครอบครัวอุปถัมภ์ส่งกลับ มารดาเสียชีวิต

ขั้นตอนในการสัมภาษณ์ 24 ชั่วโมงเพื่อเก็บข้อมูล เริ่มต้นจากว่าทำอะไรบ้างใน 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา แม้จะ ไม่ใช่เหตุการณ์ประจำวันก็ตาม คุยถึงเหตุการณ์ประจำวัน การตื่นนอน ใครตื่นคนแรก เด็ก ตื่นเมื่อไหร่ คุณทำอะไร เด็กอยู่ที่ไหน เกี่ยวกับเรื่อง การอาบน้ำแต่งตัว เด็กร่วมมือหรือไม่ ถูกคาดหวัง ให้ทำได้เองหรือไม่ เรื่องการแต่งตัว อะไรที่ต้อง ช่วยเขา อะไรที่เขาทำได้เอง อะไรที่พ่อแม่ทำให้ ที่นอนเป็นอย่างไร เสื้อผ้าสกปรกหรือสะอาด

ขั้นตอนในการสัมภาษณ์ 24 ชั่วโมงเพื่อเก็บข้อมูล (ต่อ) อาหารเช้า เกิดอะไรขึ้น เด็กมีอะไรกินหรือไม่ เด็กอยู่ที่ไหน เด็กกินข้าวที่ไหน ใครเกี่ยวข้องบ้าง เด็กหาข้าวกินเองหรือไม่ มี ทางเลือกหรือไม่ มีปัญหาเรื่องกิน ไม่กิน กินยาก เลือกกิน บังคับให้กินหรือไม่ เด็กกินอย่างไร คาดหวังให้ใช้เวลาเท่าไหร่ การไปโรงเรียน ในช่วงกลางวันเป็นอย่างไร เด็กไปโรงเรียน อย่างไร มีอะไรเกิดขึ้นในเวลาพักผ่อน เมื่ออยู่ที่บ้านหรือกำลังกลับจาก โรงเรียน หรือขณะเล่นกับเพื่อน ที่เล่นนอกบ้านสนามเด็กเล่น เป็นอย่างไร

ขั้นตอนในการสัมภาษณ์ 24 ชั่วโมง (ต่อ) หลังกลับจากโรงเรียนเด็กอยู่กับใคร การดูโทรทัศน์ของเด็ก พ่อแม่ทำอะไรในตอนเย็น ใครเป็นคนดูแลเด็ก เป็นหลัก บทบาทของพ่อแม่แต่ละคน คืออะไร สมาชิกในครอบครัวที่ช่วยดูแลเด็ก มีที่เฉพาะให้ทำ การบ้านอ่านหนังสือหรือไม่ อาหารกลางวัน มื้อเย็น รายละเอียดของอาหาร เด็กกินกับ ใคร การนอน นอนกับเด็กคนอื่น กับใคร มีความยุ่งยากเกี่ยวกับ การนอนหรือไม่

ขั้นตอนในการสัมภาษณ์ 24 ชั่วโมง (ต่อ) การเตรียมตัวเข้านอน การทำความสะอาด การเปลี่ยนเสื้อผ้า เข้านอน ใครใช้เวลาก่อนนอนกับเด็กหากไม่มีควรสื่อสารให้ พ่อแม่รู้ว่าต้องใช้เวลากับเด็ก เด็กหลับดีหรือไม่ละเมอเดิน ฝันร้ายมีใครดูแลเมื่อเกิดเหตุการณ์เหล่านี้ขึ้น งานภายในบ้าน และการจัดสรร โดยเฉพาะงานสำหรับ เด็ก ใครทำอะไร มีการการเปลี่ยนเวรหรือไม่ มีรูปแบบตายตัวไหม เปลี่ยนได้ ไหม ใครรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเรื่อง มีปัญหาเรื่องเงินหรือไม่

ขั้นตอนในการสัมภาษณ์ 24 ชั่วโมง (ต่อ) ใครมีหน้าที่ดูแลเด็ก แบ่งกันอย่างไร ใครทำอะไร การ จัดการเด็กในวัยนี้เป็นอย่างไร (วัยนี้ง่ายหรือวัยก่อนหน้านี้ ง่ายกว่า) กังวลถึงวัยต่อไป ใครเป็นคนตัดสินใจ ใครที่พูดมากที่สุด หรือน้อยที่สุด ใครเป็น ผู้นำใครช่วย เพื่อนบ้านเป็นอย่างไร สมาชิกในครอบครัวปู่ย่าตายายเป็น อย่างไร มีบริการช่วยเหลือได้เมื่อเกิดเหตุการณ์ยุ่งยากหรือไม่ เวลาที่ยุ่งยาก ดี หรือมีวิกฤติ เมื่อไหร่ที่การดูแลเด็ก หรือ ยุ่งยากกว่าปัจจุบัน มีความกังวลว่ายังดูแลเด็กได้ไม่ดีพอ หรือไม่

ขั้นตอนในการสัมภาษณ์ 24 ชั่วโมง (ต่อ) เกี่ยวกับสุขภาพของเด็ก มีความกังวลหรือไม่ มีเด็กต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษเกี่ยวกับเรื่อง สุขภาพหรือไม่ สิ่งนี้เพิ่มความตึงเครียดในครอบครัวที่ ต้องดูแลเด็กคนอื่นๆหรือเด็กพิเศษหรือไม่ ครั้งสุดท้ายที่มีเด็กป่วย ใครดูแล ต้องไปพบหมอหรือไม่ นานแค่ไหน อุปสรรคที่ทำให้ครอบครัวไม่สามารถดูแลช่วยเหลือ เด็กได้ ผลกระทบจากภาวะสุขภาพของพ่อแม่หรือ ภาวะเครียดอื่นๆ

การประเมินศักยภาพเด็ก

แผนการพัฒนาและคุ้มครองเด็กรายบุคคล (Individual Development and Child Protection Plan-IDPP) ชื่อ-สกุล........................................................................................ อายุ.......................... สถานการณ์ ณ วันรับเข้าสู่ระบบบริการ (วันเดือนปี............................................................) เป้าหมาย ข้อเท็จจริง แผนการดำเนินงาน (ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว) ผู้รับผิดชอบ ผล/ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากแผนดำเนินงาน แผนที่จะดำเนินการต่อ   ระยะสั้น (กายจิตสังคม) สุขภาพกาย สุขภาพจิต ความสัมพันธ์ทางสังคม ความปลอดภัย ครอบครัว การศึกษา ที่พักอาศัย การงาน/อาชีพ สิทธิสวัสดิการ -การหาข้อเท็จจริงและการประเมินสภาวะทางสังคม -การประชุม Case Conference -การประชุมทีมสหวิชาชีพ -สถานการณ์ปัญหา การระบุปัญหาเร่งด่วน ปัญหาหลักที่เชื่อมโยงไปสู่ปัญหาอื่น -การจัดการกับปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก) ระยะสั้น -แผนการจัดการกับปัญหาวิกฤต/ฉุกเฉิน -แผนการลดความเสี่ยงที่กระทบต่อเด็ก -การเข้าถึงสิทธิสวัสดิการ -การจัดการกับปัญหาเฉพาะหน้า / สถานการณ์วิกฤต ชื่อ หน่วยงาน 1............... 2................ 3...............

ขอบคุณค่ะ