การเขียน Flowchart เบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีการทำงานของผังงาน
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
Looping ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
การวัดค่ากลาง - ค่าเฉลี่ย
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
1 Search & Sort Search & Sort วรวิทย์ พูลสวัสดิ์.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
การเขียนผังงานเบื้องต้น (Flow chart)
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
1.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
ITERATION (LOOP) สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
เกม คณิตคิดเร็ว.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แนวข้อสอบ Final (จดด่วน)
โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมเบื้องต้น
การบริหารโครงการ Project Management
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
START INPUT R = 1 R = R Yes R*R <=2 No R = R PROCESS
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
โครงสร้างภาษา C Arduino
หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง การควบคุมทิศทางการทำงาน
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
Control Statement เงื่อนไขคำสั่งในโปรแกรม ภาษา C
สาระการเรียนรู้ ความหมายของอัลกอริทึม วิธีการเขียนผังงานที่ดี
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
BC320 Introduction to Computer Programming
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
บทที่ 3 Programming By Wathinee duangonnam
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
SMS News Distribute Service
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การวางแผนกำลังการผลิต
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
Computer Game Programming
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียน Flowchart เบื้องต้น อ. อาจารีย์ ทองอ่อน

สัญลักษณ์ใน Flowchart จุดเริ่มต้น/สิ้นสุด (Terminator) ข้อมูล นำเข้า/ส่งออก (Input / Output) ประมวลผล (Process) ตัดสินใจ (Decision) ทิศทาง (Direction) จุดต่อเชื่อม (Connector)

การเขียน Flowchart แบบโครงสร้าง Sequence Selection Iteration

Sequence คือการเขียนให้เป็นลำดับ

Selection เป็นทางเลือกของโปรแกรมซึ่ง จะต้องมีเพียงสองทางเลือกเท่านั้น และ หลังจากนั้นทางเลือกทั้งสองต้องมาพบกัน และทำงานในขั้นตอนต่อไป

Iteration คือการทำซ้ำ เป็นการเขียน flowchart ให้กลับมาทำงานในขั้นตอนอย่างเก่า จะเห็นว่า flowchart มีลักษณะวน ซึ่งเรียกว่า loop

Iteration เพื่อที่จะทำให้ออกจาก loop ได้จะต้องมีการ เช็คเพื่ออกจาก loop ซึ่งมีให้เลือกใช้ 2 ประเภท คือ DO WHILE DO UNTIL Y N Y N

ตัวอย่างการเขียน Flowchart Input salary START Tax = salary * 0.1 Print salary, tax STOP

ตัวอย่างการเขียน Flowchart N Y Input salary START Tax = salary * 0.1 Print salary, tax STOP salary>0 Y N Input salary START Tax = salary * 0.1 Print salary, tax Salary>0 STOP

ตัวอย่างการเขียน Flowchart N Y START X = 1 TOTAL = 0 TOTAL = TOTAL + X X > 10 X = X + 1 Print TOTAL STOP

ตัวอย่างการเขียน Flowchart Y START TOTAL = 0 TOTAL = TOTAL + First First > last 10 First = First + 1 N Print TOTAL STOP Input First, last

ค่าตัวแปรใน Flowchart สมมติ input salary 5000 1 2 3 4 5 6 7 8 START Input salary Bonus = 10000 salary = salary + Bonus salary = salary + salary salary + salary salary = 100 Bonus = Bonus - 3000 STOP ตำแหน่ง SALARY BONUS 1 2 5,000 3 10,000 4 15,000 (5,000+10,000) 5 30,000 (15,000+15.000) 6 7,000 (10,000-3,000) 7 60,000 (30,000+30,000) 8 100

การสะสมค่า (ผลรวมของตัวแปร) ในการเขียน Flowchart เราจะใช้วิธีสะสมค่า โดยกำหนด ตัวแปรที่ไว้สำหรับเก็บค่าสะสม = ตัวแปรที่ไว้สำหรับเก็บค่าสะสม + ตัวแปรที่ต้องการสะสม N Y Input salary START Tax = salary * 0.1 Print salary, tax STOP salary>0 1 2 3 4 Total_sal = Total_sal + salary Total_tax = Total_tax + tax ตำแหน่ง Total_sal Total_tax 1 N 2 Y 3 4

การสะสมค่า (ผลรวมของตัวแปร) N Y Input salary START Tax = salary * 0.1 Print salary, tax STOP salary>0 Total_sal = Total_sal + salary Total_tax = Total_tax + tax

Total_count = Total_count + 1 การนับ (Counting) หลักการในการเขียน Flowchart ของการนับก็คือ 1. ต้องวาง process ของการนับ ณ จุดที่ทุกคนวิ่งผ่าน นั่นก็คือจุดที่อยู่ใน loop 2. ตัวแปรซึ่งไว้เก็บค่าการนับก็คือ การสะสมซึ่งเพิ่มค่าทีละหนึ่ง N Y Input salary START Tax = salary * 0.1 Print salary, tax STOP salary>0 1 2 3 4 Total_count = Total_count + 1 ตำแหน่ง Total_count 1 N 2 Y 3 4

Total_count = Total_count + 1 การนับ (Counting) N Y Input salary START Tax = salary * 0.1 Print salary, tax STOP salary>0 Total_count = Total_count + 1

ทางเลือก (Selection) ในการเขียน Flowchart บางกรณีระบบจะต้อง ทำการเลือก เช่น พนักงาน เงินเดือนต่ำกว่า 10,000 บาท ไม่ต้องเสียภาษี ตั้งแต่ 10,000 บาทขึ้นไปเสีย 10% N Y Input salary START Tax = salary * 0.1 Print salary, tax STOP salary>0 Salary<=10000 Tax = 0

ทางเลือกซ้อนทางเลือก (Nested selection) ในการเขียน Flowchart บางกรณีอาจมีทางเลือกมากกว่าสองทางเช่น อัตราการเสียภาษีของพนักงานมี 0% 10% และ 20% N Y Input salary START Tax = salary * 0.1 Print salary, tax STOP salary>0 Salary <=10000 Tax = 0 Salary <=20000 Tax = salary * 0.2 เงินเดือน อัตรา 0 ถึง <= 10,000 0% > 10,000 ถึง <= 20,000 10% > 20,000 20%

การบ้าน ให้เขียน Flowchart สำหรับรับค่าตัวเลขจำนวน 10 ตัวพร้อมทั้งทำการเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ยกตัวอย่างชุดตัวเลขที่ป้อนเข้า: 5 11 9 32 4 8 23 45 21 16 เมื่อทำการเรียงลำดับแล้วจะได้: 4 5 8 9 11 16 21 23 32 45