การขายสินค้าออนไลน์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อ.กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา Payap University ,Chiangmai , Thailand
Advertisements

E+M Commerce.
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตอนที่ 2
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ เป็นระบบที่สนับสนุนงานในสำนักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะ ประสานการทำงานของบุคลากรรวมทั้งกับ บุคคลภายนอก หรือหน่วยงานอื่น.
ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นสู่ตลาด E-Commerce (OTOP Online)
Search Engine Marketing
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
แม่แบบที่ดีของการบริการ
เทคโนโลยีสารสนเทศในห่วงโซ่อุปทาน ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทนำ การทำธุรกิจในปัจจุบันมีความสะดวกและทันสมัยมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าและพัฒนาอย่างอย่างต่อเนื่อง ทำให้ทุกคนในโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ง่ายยิ่งขึ้น.
บทที่ 6 โลกของเครือข่าย.
ระบบการชำระเงินของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Payment System
: หลักการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนการชำระเงินสมทบ กองทุนประกันสังคม ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
Electronic Payment System การชำระเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
The Digital Firm : Electronic Business and Electronic Commerce
การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า Customer Relationship Management: CRM
ระบบการเบิก & การล้างหนี้เงินยืมทดรอง ค่าใช้จ่ายเดินทาง บน New-EDMS
เรื่องน่ารู้ ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
บทที่ 6 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
Introduction to VB2010 EXPRESS
หัวข้อ “ทำ e-Commerce อย่างไร”
โครงการแผนการจ่ายเงินการรับเงิน และนำเงินส่งคลังของ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหาร ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e-Payment.
บทที่ 9 ชีวิตง่ายๆ ในโลกดิจิทัล
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing)
ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ (Electronic Commerce Payment System)
Visual Communication for Advertising Week14
ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
Introduction to Data mining
QMT 3602 การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Agenda ::: ระบบงานทะเบียนสวนป่า RFD Single Window ปี 2561
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
วิธีการเขียน Business Model Canvas
ผลการเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติและเสวนาวิชาการ
วันพุธที่ 22 กรกฎาคม 2558 เวลา น. ณ ห้องรัตนโกสินทร์
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
MOCKUP PACKAGE Digital Restaurant.
การตรวจสอบย้อนกลับ TRACEABILITY
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
การใช้ยา.
การสร้างและการบริหารเครือข่าย (เครือข่ายภาครัฐต่อต้านการทุจริต)
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
13 October 2007
บทที่ 12 การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
วิชา การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับ อีคอมเมิร์ซ
รายวิชา ISC2101 ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
การพัฒนาข้อมูลสาเหตุการตาย
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 8 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
การขายสินค้าออนไลน์.
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce)
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๖๒
การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตใน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
นางสาววงจินดา พุ่มซ้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขายสินค้าออนไลน์

พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) หรือ อี คอมเมิร์ซ (E-Commerce) กระบวนการซื้อ-ขาย แลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์และข้อมูลข่าวสาร โดยอาศัยคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย หมายความรวมถึง การติดต่อสื่อสารระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ ธุรกิจกับผู้บริโภค การทำรายการธุรกิจ การชำระเงิน การจัดส่งสินค้า การให้บริการลูกค้า และการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า

E - Commerce

เปรียบเทียบการค้ายุคเดิมกับการค้าออนไลน์ การค้าแบบเดิม ลูกค้าต้องมาที่ร้านค้า ลูกค้าไม่สะดวก บางครั้งไม่มีที่จอดรถ ร้านค้าต้องเช่า ต้องซื้อทำเล มีค่าใช้จ่าย สินค้ามีจำกัด มีเฉพาะเท่าที่โชว์หรือขาย ลูกค้าถูกจำกัดเท่าที่เดินผ่านหรือในละแวกบ้าน การค้าออนไลน์ ลูกค้าสั่งซื้อออนไลน์จากที่ไหนก็ได้ ส่งสินค้าถึงบ้าน ร้านไม่ต้องเช่า ที่ดินไม่ต้องซื้อ ค่าใช้จ่ายต่ำ เปิดบริการ 24 ชั่วโมง มีลูกค้าอยู่ทั่วโลก

ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตัวอย่างเช่น นายสมชายเปิดร้านขายสินค้าโอท็อป ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทำให้ลูกค้าที่อยู่ต่างประเทศ สามารถเข้ามาดูตัวอย่างสินค้า และติดต่อซื้อขายกันได้ โดยผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์

พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพื่ม ประสิทธิภาพขององค์กร เพื่อลดบทบาทความสำคัญของ องค์ประกอบทางธุรกิจลง วัตถุประสงค์ (Object) เพื่อลดข้อจำกัดของระยะทางและ เวลา ในการทำธุรกรรมลงได้

การดำเนินธุรกิจ E-Commerce การทำประชาสัมพันธ์ (broadcast) การโต้ตอบกันทางธุรกิจ (interaction) การเชื่อมโยงข้อมูลของผู้ซื้อเพื่อให้ได้ข้อมูลอย่างสมบูรณ์ (integration) เป็นระบบที่ผู้ซื้อและผู้ขายติดต่อถึงกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เข้าถึงลูกค้าได้เป็นจำนวนมาก มีต้นทุนการทำธุรกรรมต่อหน่วยที่ต่ำกว่าในรูปแบบเดิม

ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีประโยชน์ร่วมกันทั้งต่อผู้บริโภค ผู้ประกอบการ เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งสรุปได้ 3 ประเด็นหลัก 1. ประหยัดค่าใช้จ่าย ช่วยลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกองค์กร เช่น ค่าพิมพ์เอกสาร ค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ 2. ไม่มีข้อจำกัดด้านสถานที่ สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ทั่วโลก 3. ไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา สามารถทำธุรกรรมผ่านระบบอัตโนมัติได้ตลอดเวลา

ประโยชน์ของ E-Commerce สำหรับผู้ประกอบการ ขยายตลาดจากตลาดท้องถิ่นไปสู่ตลาดระหว่างประเทศ ลดต้นทุนการดำเนินการทางการตลาด โดยเฉพาะเอกสาร และค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร ลดสินค้าคงคลังและค่าใช้จ่ายในช่องทางการจำหน่าย เพิ่มความเชี่ยวชาญของธุรกิจได้มากขึ้น เช่น ร้านขายของเล่น ร้านอาหาร ร้านขนม ประโยชน์อื่น ๆ เช่น สร้างภาพลักษณ์ขององค์กร เพิ่มช่องทางการให้บริการลูกค้า ฯลฯ

ประโยชน์ของ E-Commerce สำหรับผู้บริโภค สามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้สะดวกตลอด 24 ชม. มีโอกาสในการเปรียบเทียบและเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ได้มากขึ้น รวมทั้งเลือกผู้ขายได้ด้วย ได้ผลิตภัณฑ์ราคาถูก คุณภาพตามต้องการ โดยไม่เสียเวลาและไม่เสียค่าเดินทาง ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ในเวลาอันสั้นและโต้ตอบได้เร็ว สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้บริโภครายอื่น ๆ เพื่อให้มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจซื้อได้มากขึ้น

ประโยชน์ของ E-Commerce สำหรับสังคมและชุมชน มีการทำงานที่บ้าน และซื้อผลิตภัณฑ์จากที่บ้าน ไม่ต้องเดินทาง ทำให้ลดปัญหาการจราจรและมลภาวะ คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น เนื่องจากมีโอกาสเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์คุณภาพดี ราคาถูก ประชากรในแต่ละประเทศสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีขายในประเทศของตนรวมทั้งโอกาสในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ หน่วยราชการให้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารแก่ชุมชนมากขึ้น รวมทั้งการจัดให้มีบริการผ่านทาง Internet

E-Commerce Biz Model ; “Click & Mortar”

E-Commerce Biz Model ; “Click & Click” (thai-bkk)

รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ www.customs.go.th

โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โครงสร้างหลักของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำให้เกิดการค้าขายบนเว็บไซต์ 1. หน้าร้าน (Storefront) - เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของระบบการค้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ใช้สำหรับแสดงข้อมูลสินค้าทั้งหมดของร้านค้า - รวมถึงระบบค้นหาข้อมูลสินค้า นโยบายการค้าและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบริษัท - ซึ่งส่วนหน้าร้านนี้จะต้องมีการออกแบบให้ดีให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ www.se-ed.com

โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบตะกร้ารับคำสั่งซื้อ (Shopping Cart System) เป็นระบบที่ต่อเนื่องจากหน้าร้าน เมื่อลูกค้าต้องการสั่งซื้อสินค้า โดยคลิกที่ข้อความสั่งซื้อ” หรือสัญลักษณ์รูปตะกร้า หรือรถเข็นก็จะปรากฏรายการสินค้าที่ลูกค้าต้องการในหน้าตะกร้า พร้อมกับคำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมด ซึ่งลูกค้าสามารถปรับเปลี่ยนรายการสินค้าหรือปริมาณที่สั่งได้ หากลูกค้าตัดสินใจเลือกสินค้าที่ต้องการแล้วก็จะเข้าสู่ขั้นตอนการชำระเงินต่อไป

E - Commerce

โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3. ระบบการชำระเงิน (Payment System) - การค้าแบบอิเล็กทรอนิกส์มีวิธีการชำระเงินหลายรูปแบบเช่น การโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร K – mobile การสแกน QR Code การชำระด้วยบัตรเครดิต เป็นต้น - ซึ่งผู้ขายจะต้องมีทางเลือกให้ลูกค้าหลายทางเลือก - เพื่อความสะดวกของลูกค้า เช่น ชำระโดยบัตรเครดิต นิยมในกลุ่มผู้ซื้อชาวต่างประเทศ - ซึ่งการชำระเงินด้วยบัตรเครดิตร้านค้าต้องติดต่อกับธนาคาร เพื่อขอเป็นร้านค้ารับบัตรเครดิต

โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3. ระบบการชำระเงิน (Payment System) ต่อ - หากมีลูกค้าซื้อสินค้า ชำระเงินด้วยบัตรเครดิต จะมีการส่งข้อมูลหมายเลขบัตรเครดิตไปตรวจสอบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของธนาคารแห่งนั้น - โดยการส่งข้อมูลบัตรเครดิต จะมีระบบรักษาความปลอดภัยที่เข้ารหัสข้อมูลบัตรเครดิตที่ไม่สามารถมีผู้อื่นมาขโมยไปใช้ได้

ตัวอย่างผู้ให้บริการระบบตัดบัตรเครดิต เป็นระบบตัดบัตรเครดิตแบบง่ายๆ โดยจะมีเว็บเพจ สำหรับกรอกหมายเลขบัตรเครดิต ให้ร้านค้าเชื่อมต่อ โดยตรง โดยร้านค้าจะมีหน้าที่ส่งค่าตัวแปรต่างๆ อย่างเช่น มูลค่า สินค้า หมายเลขประจำตัวร้านค้า มาให้ดำเนินการเท่านั้น ร้านค้าซึ่งพัฒนาระบบฐานข้อมูลสินค้าและฐานข้อมูล ลูกค้าเรียบร้อยแล้วสามารถ เข้ามาใช้บริการชำระเงินผ่าน บัตรเครดิตกับ EPAYLINK ได้ทันที

กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 4. ระบบสมัครสมาชิก (Member System) - เป็นการบันทึกข้อมูลลูกค้าที่ต้องการสมัครเป็นสมาชิก - เพื่อรับข่าวสาร รวมถึงลูกค้าที่สั่งซื้อสินค้า เพื่อประโยชน์ในการจัดส่งข้อมูลและสินค้าได้อย่างถูกต้อง ร้านค้ายังสามารถนำข้อมูลลูกค้าไปใช้ประโยชน์ในระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (Customer relationship management :CRM)

กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5. ระบบขนส่ง (Transportation System) - เป็นระบบการจัดส่งสินค้าให้ถึงลูกค้า โดยต้องมีทางเลือกหลายทางให้กับลูกค้า ซึ่งขึ้นอยู่กับลูกค้า - ค่าใช้จ่ายในการขนส่งแต่ละวิธีจะไม่เท่ากัน อาจใช้ EMS, DHL, Kerry Express จัดการให้ - ร้านค้าต้องมีการเชื่อมโยงกับเว็บไซต์ บริษัทขนส่ง เพื่อความสะดวกในการคำนวณค่าใช้จ่ายในการขนส่งด้วย

กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 6. ระบบติดตามคำสั่งซื้อ (Order Tracking System) - เป็นระบบติดตามคำสั่งซื้อของลูกค้า โดยเมื่อเสร็จสิ้นการสั่งซื้อแต่ละครั้ง ลูกค้าจะได้หมายเลขคำสั่งซื้อ (order number) - หากลูกค้าต้องการทราบว่าสินค้าที่สั่งซื้ออยู่ในขั้นตอนใดก็สามารถใช้หมายเลขดังกล่าวเข้าไปตรวจสอบสถานะของสินค้าได้ - จะมีรายงานผลสถานะการรับสินค้าแล้ว เป็นต้น - ระบบนี้จะทำให้ลูกค้าเกิดความเชื่อถือและมั่นใจว่าจะได้รับสินค้าอย่างแน่นอน

โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 4. การส่งมอบสินค้า เมื่อลูกค้ากำหนดวิธีการชำระเงินเรียบร้อยแล้ว จะเข้าสู่การเลือกวิธีขนส่งสินค้า ซึ่งการส่งมอบสินค้าอาจจัดส่งให้กับลูกค้าโดยตรง การใช้บริการบริษัทขนส่งสินค้าหรือส่งผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น การให้หมายเลขพัสดุเพื่อไปรับสินค้าหรือบริการปลายทาง เป็นต้น

โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5. การให้บริการหลักการขาย หลังจากเสร็จสิ้นการสั่งซื้อแต่ละครั้ง ร้านค้าต้องการมีบริการหลังการขายให้กับลูกค้า ซึ่งอาจจะมีการติดต่อกับลูกค้าผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น อีเมล เว็บบอร์ด Facebook , Line