การเตรียมการตรวจประเมินตัวชี้วัด 3.4 Best Service

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
1 การนำใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการชุมชน นรินทร บุญพราหมณ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โครงการความร่วมมือเพื่อแก้ปัญหาความยากจน.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานสถานการณ์E-claim
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
PRIMARY CARE PRIMARY CARE Primary care.
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเตรียมการตรวจประเมินตัวชี้วัด 3.4 Best Service การใช้ระบบการส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน ของศูนย์บริการสาธารณสุข ด้วยโปรแกรม MCH Refer โดย คุณชุดาภรณ์ ศิริสนธิ ผู้อำนวยการกองการพยาบาลสาธารณสุข

วัตถุประสงค์ เพื่อเตรียมการตรวจประเมินตัวชี้วัด 3.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) เพื่อชี้แจงแนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ เพื่อให้ศูนย์บริการสาธารณสุขสามารถใช้งานและติดตามโปรแกรมการส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอด MCH Refer เพื่อให้มารดาและทารกหลังคลอดที่ได้รับการส่งต่อ ใน 6 สป.แรกให้ได้รับการดูแลและเยี่ยมตามเกณฑ์

การประเมินผลปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2557 ประเด็นการประเมิน พัฒนาการให้บริการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ปีงบประมาณ 2557 ประเมินตามกรอบการประเมินตัวชี้วัด ที่ 3.4 ร้อยละความสำเร็จของ การดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ลักษณะการให้บริการที่ 4 * มีโปรแกรมประยุกต์ส่วนกลางเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถบันทึก แลกเปลี่ยน เชื่อมโยงและใช้ประโยชน์ข้อมูลร่วมกันได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และอำนวยความสะดวก ให้แก่ผู้รับบริการที่จะขอหรือนำเข้าข้อมูล ไปใช้

กองการพยาบาลสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) สำนักอนามัย กองการพยาบาลสาธารณสุข โครงการ การใช้ระบบการส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน ของศูนย์บริการสาธารณสุข ด้วยโปรแกรม MCH refer สำนักอนามัย มอบหมายให้ กองการพยาบาลสาธารณสุข จัดทำโครงการ การใช้ระบบการส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน ของศูนย์บริการสาธารณสุข ด้วยโปรแกรม MCH refer เพื่อเป็น

โครงการ การใช้ระบบการส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน ของศูนย์บริการสาธารณสุข ด้วยโปรแกรม MCH refer วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้มารดาและทารกหลังคลอดได้รับบริการที่สะดวก และรวดเร็ว จากการลดขั้นตอนการส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน 2. เพื่อให้พยาบาลเยี่ยมบ้านสามารถให้บริการได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อให้ศูนย์บริการสาธารณสุขมีโปรแกรมการส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอด (MCH Refer) ที่ช่วย ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4.เพื่อให้สำนักอนามัยมีฐานข้อมูลการส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน ใน ๖ สัปดาห์แรก สำหรับวางแผนเพื่อพัฒนาระบบบริการ และแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ การส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในเครือข่ายและศูนย์บริการสาธารณสุข

เป้าหมายของการดำเนินโครงการ ศูนย์บริการสาธารณสุขของสำนักอนามัย จำนวน ๖๘ แห่ง มีการใช้โปรแกรมการส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน เพื่อให้มารดาและทารกหลังคลอดที่ได้รับการส่งต่อ ได้รับการดูแลสุขภาพตามเกณฑ์

ตัวชี้วัดโครงการ 1.ร้อยละ ๙0 ของศูนย์ส่งต่อเพื่อการดูแลมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้านบันทึกข้อมูลการส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน ใน ๖ สัปดาห์แรก ที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน 2.ระยะเวลาเฉลี่ยในการเชื่อมโยง/เรียกใช้ข้อมูลของศูนย์ส่งต่อเพื่อการดูแลมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน ไม่เกิน ๕ นาทีต่อครั้ง 3.จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม MCH Refer ของศูนย์บริการสาธารณสุข ๖๘ แห่ง ใน ๓ เดือน ไม่เกิน 5 ครั้ง 4.ร้อยละ ๘๐ ของมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน (๖ สัปดาห์แรก) ที่ส่งต่อในระบบได้รับการดูแลสุขภาพที่บ้านตามเกณฑ์ 5.ร้อยละ ๑๐๐ ของมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการส่งต่อตามเกณฑ์มาตรฐาน

ศูนย์ส่งต่อดำเนินการตามตัวชี้วัดที่ 1 และ2

แนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ 1. แนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ ตัวชี้วัด วิธีประเมิน ร้อยละ ๙0 ของศูนย์ส่งต่อเพื่อการดูแลมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้านบันทึกข้อมูลการ ส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน ใน ๖ สัปดาห์แรก ที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน ประเมินการบันทึกข้อมูล การส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอดใน ๖ สัปดาห์แรก ที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน จากโปรแกรม MCH Refer แนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ ศูนย์ส่งต่อฯ ส่งข้อมูล RF 01 ไปให้ศูนย์บริการสาธารณสุขได้ถูกต้องครบถ้วน 2. ศูนย์ส่งต่อส่งข้อมูลเป็นปัจจุบันโดยส่งข้อมูลไม่เกิน 1 วัน หลังจากได้รับ case จาก รพ.

ภาพโปรแกรมการส่งใบ RF 01

แนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ 2. แนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ ตัวชี้วัด วิธีประเมิน ระยะเวลาเฉลี่ยในการเชื่อมโยง/เรียกใช้ข้อมูลของศูนย์ส่งต่อเพื่อการดูแลมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน ไม่เกิน ๕ นาทีต่อครั้ง ประเมินการระยะเวลาเฉลี่ยในการเชื่อมโยง/เรียกใช้ข้อมูลของศูนย์ส่งต่อเพื่อการดูแลมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน จากโปรแกรม MCH Refer แนวทางปฏิบัติ 1.ศูนย์ส่งต่อฯ ตรวจสอบและดูแลระบบโปรแกรม MCH Refer ทุกวัน 2.แบบฟอร์ม Check list การตรวจสอบใช้งานโปรแกรม MCH Refer

ภาพการเข้าหน้าโปรแกรม ภาพแบบฟอร์มการติดตาม ภาพการตรวจสอบโปรแกรม(ถ่ายรูปจอย)

ศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินการ ตามตัวชี้วัดที่ 3 ,4 และ 5

แนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ 3. แนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ ตัวชี้วัด วิธีประเมิน จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม MCH Refer ของศูนย์บริการสาธารณสุข ๖๘ แห่ง ใน ๓ เดือน ไม่เกิน 5 ครั้ง ประเมินข้อร้องเรียนการใช้งานโปรแกรม MCH Refer จากแบบฟอร์ม ข้อร้องเรียนที่ส่งไปยังศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ทุก 3 เดือน (ม.ค.-มี.ค., เม.ย.-มิ.ย., ก.ค.-ก.ย.) แนวทางปฏิบัติ แบบฟอร์มการรับข้อร้องเรียนการใช้งานโปรแกรม MCH Refer ส่งบันทึกข้อความพร้อมแนบแบบฟอร์มร้องเรียน ทุก 3 เดือน

ภาพการเข้าหน้าโปรแกรม ภาพแบบฟอร์มการติดตาม ภาพการตรวจสอบโปรแกรม(ถ่ายรูปจอย)

แนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ 4. แนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ ตัวชี้วัด วิธีประเมิน ร้อยละ ๘๐ ของมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน (๖ สัปดาห์แรก) ที่ส่งต่อในระบบได้รับการดูแลสุขภาพที่บ้านตามเกณฑ์ ประเมินการดูแลสุขภาพมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน (๖ สัปดาห์แรก) ตามเกณฑ์(Caseปกติ เยี่ยมภายใน 14 วัน เสี่ยง และป่วย เยี่ยมภายใน 7 วัน) จากรายงานผลการเยี่ยมของศูนย์ส่งต่อฯ แนวทางปฏิบัติ ศูนย์ส่งต่อฯ จะติดตาม หน้าแสดง Case ทุกวัน ถ้ามีสีเหลือง ถึง สีแดง จะแจ้งให้ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ทราบ รายงานทะเบียน มารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิด ถึง 6 สัปดาห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย

ภาพการแสดงCase ภาพรายงานทะเบียน

แนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ 5. แนวทางปฏิบัติงานตามตัววัดชี้วัดโครงการฯ ตัวชี้วัด วิธีประเมิน ร้อยละ ๑๐๐ ของมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการส่งต่อตามเกณฑ์มาตรฐาน ประเมินการส่งต่อมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน จากรายงานการส่งต่อของศูนย์บริการ-สาธารณสุข แนวทางปฏิบัติ การส่งต่อมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน (เอกสารแนบ) 2. แบบฟอร์มการส่งต่อมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน

ภาพแบบฟอร์มส่งต่อภาวะแทรกซ้อน

เกณฑ์การส่งต่อภาวะแทรกซ้อน การส่งต่อมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน หมายถึง โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ หรือนอกสังกัดสำนักการแพทย์ หรือโรงพยาบาลอื่นๆ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ส่งข้อมูลหญิงหลังคลอดภายใน 6 สัปดาห์แรก ที่มีภาวะสุขภาพเสี่ยง และป่วยมาที่ศูนย์ส่งต่อเพื่อการดูแลมารดาและทารกหลังคลอดที่บ้าน ซึ่งตั้งอยู่ที่กองการพยาบาลสาธารณสุข ศูนย์ส่งต่อฯ ส่งข้อมูลให้ศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่ภายใน ๑ วัน เพื่อดำเนินการเยี่ยมตามเกณฑ์ (ภายใน 7 วัน) จากพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในชุมชน หากพบภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด ให้ดำเนินการส่งต่อทุกราย

- การอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก (Endometritis) เกณฑ์การส่งต่อภาวะแทรกซ้อน 1. ตกเลือดหลังคลอด ๒. การติดเชื้อหลังคลอด - ติดเชื้อแผลฝีเย็บ - การอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก (Endometritis) - เต้านมอักเสบ (Mastitis) - ติดเชื้อแผลผ่าตัดที่หน้าท้องจากการผ่าตัดคลอด 3. หลอดเลือดดำที่ขาอุดตัน (Deep vein thrombosis) 4. ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)

*** การพิจารณาความเร่งด่วนในการส่งต่อมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน พิจารณาจากอาการแสดงของมารดาว่ามีความรุนแรงมากน้อยแค่ไหน ซึ่งไม่มีเกณฑ์ตัดสินที่ตายตัว เนื่องจากต้องอาศัยการประเมินอาการและอาการแสดงในวันที่พบผู้ป่วย ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นแบบ urgency คือเร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ไม่ควรเกิน 24 ชม. แต่หากภาวะแทรกซ้อนขณะที่พบมีความรุนแรงมากซึ่งอาจจะก่อให้เกิดความรุนแรงถึงชีวิตควรพิจารณาส่งแบบ Emergency ผู้ป่วยฉุกเฉินมาก (Emergent) ภาวะแทรกซ้อนขณะที่พบมีความรุนแรงมากซึ่งอาจจะก่อให้เกิดความรุนแรงถึงชีวิต ผู้ป่วยฉุกเฉิน (Urgent) เร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ไม่ควรเกิน 24 ชม.

สรุป ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการตรวจสอบการส่งข้อมูลมารดาหลังคลอด (RF 01) จากโปรแกรม MCH Refer ทุกวันเพื่อดูการส่ง Case มารดาหลังคลอดฯ และดำเนินการเยี่ยม ตามเกณฑ์ (ถ้าเป็นสีเหลืองให้รีบดำเนินการเยี่ยมทันที ) ถ้าเป็น Case ที่มีภาวะสุขภาพ เสี่ยงและป่วย แล้วพบภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดให้ดำเนินการส่งต่อทุกรายและบันทึกในแบบฟอร์มการส่งต่อมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนทุกราย 3. ลงบันทึกผลการเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอด ฯ (HV 03.1 และ HV04.1) ในโปรแกรม MCH Refer ควบคุม กำกับและติดตามการลงบันทึกข้อมูล HV03.1 และ HV04.1 ให้เป็นปัจจุบัน

Q&A

Thank you