International Commercial Terms

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Strength of Materials I EGCE201 กำลังวัสดุ 1
Advertisements

John Rawls  John Rawls is the most famous American social contract theorist argued that “Justice is fairness” He Thought human natural have a appropriate.
รายการส่งเสริมการขาย “โทรมันส์ ครั้งละบาท”
เลตเตอร์ออฟเครดิตหรือ ตราสารเครดิต
With Service Mind, Bye-bye Say “NO”, Focus and Care, Share Data
บทที่ 4 จดหมายเสนอขาย เนื้อหาบทเรียน
Refinery Excise Tax and Fund
July Lecture Side Lecture by Suradet Tantrairatn Lecturer and Researcher Chapter Four June 2010 Definitions, Goals, and Objective.
การร้องไห้ คือ การเสี่ยงที่จะถูกมองว่าเป็นคนที่อ่อนไหว
The Dilemma.
การสร้าง WebPage ด้วย Java Script Wachirawut Thamviset.
วิธีการคัดเลือกผู้รับจัดการขนส่ง ที่มีประสิทธิภาพ
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Negotiating Int’l Transaction Negotiating by contestNegotiating by contest –Adversarial standoff style Negotiating by building consensusNegotiating by.
สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Social Protection Floor: Situation and Way Forward Thaworn Sakunphanit.
International Trade Contract สัญญาซื้อขายสินค้า ระหว่างประเทศ อ. ดร. พรชัย วิสุทธิศักดิ์
International Price Strategy
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
D 2 E 1 S E M N G ม. I G I T Grammar A L 4.0.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ชุดฝึกเขียนสรุป (Writing Summary)
International Trade Agreement สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
ผศ. ดร. พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance
Letter of Credit เลตเตอร์ออฟเครดิตหรือ ตราสารเครดิต
การบัญชีเกี่ยวกับส่วนของผู้เป็นเจ้าของ(Accounting of Owners’ Equity)
MRT 2210 Marine Insurance - การประกันภัยทางทะเล
Lecture บทที่ 5 การจัดการคลังสินค้า และการกระจายสินค้า
“เอาชนะเนื้อหนัง” OVERCOMING THE FLESH. “เอาชนะเนื้อหนัง” OVERCOMING THE FLESH.
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
“ชีวิตที่ไร้กังวล” A WORRY FREE LIFE. “ชีวิตที่ไร้กังวล” A WORRY FREE LIFE.
ผศ. ดร. พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กฎหมายการค้าของเอกชนระหว่างประเทศ วิวัฒนาการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
1. นี่เป็นสิ่งที่พระเยซูทรงทำ พระองค์ทรงรักษาทุกคน ที่เจ็บป่วยให้หายดี
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
พรบ. รับขนสินค้าทางทะเล 2534
สถานการณ์การผลิตและการตลาด พืชตระกูลถั่ว
หน่วยที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
เรื่องขั้นตอนการเตรียมการจัดการเอกสารเพื่อการขนส่ง
การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อ ( Pipeline Transportation )
เอกสารในการนำเข้าและส่งออก
อย่ากลัวสิ่งใดเลย Fear Nothing. อย่ากลัวสิ่งใดเลย Fear Nothing.
เอกสารเพื่อการขนส่งทางรถ
เอกสารการส่งออก.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
สุมิตรชัย หัตถสาร ผู้บรรยาย
Comprehensive School Safety
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
คำเทศนาชุด: ท่านมีของประทาน
1 ยอห์น 1:5-7 5 นี่เป็นเรื่องราวซึ่งเราได้ยินจากพระองค์และประกาศแก่ท่าน คือพระเจ้าทรงเป็นความสว่าง ในพระองค์ไม่มีความมืดเลย 6 ถ้าเราอ้างว่ามีสามัคคีธรรมกับพระองค์แต่ยังดำเนินในความมืด.
ความเชื่อที่จะเจริญรุ่งเรือง
อัตถิภาวนิยม existentialism J.K. Stevens, instructor
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ที่มาและหน่วยงานกาชาดต่างๆ
บทที่ 6 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 10 ตุลาคม 2558.
แล้วไงเกี่ยวกับความจริง What About Truth?
1. พระเยซูทรงต้องการให้เราเป็น เหมือนพระองค์
บทที่ 5 การออกแบบวิจัย อ.พิสิษฐ์ พจนจารุวิทย์
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 5
งาน Trade Association’s President Club (TAP)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า
บทที่ 5 การออกแบบวิจัย อ.พิสิษฐ์ พจนจารุวิทย์
โดย นายวรวุฒิ หล้าเต็น หัวหน้าแผนกข้อมูลและวิจัยตลาด
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
International Trade Agreement สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

International Commercial Terms INCOTERMS International Commercial Terms ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Incoterms ชื่อทางการ: “กฎเกณฑ์ระหว่างประเทศสำหรับการตีความคำเฉพาะทาง การค้า” (International Rules for the Interpretation of Trade Terms) มีวัตถุประสงค์ที่จะวางหลักเกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับกัน ในระหว่างประเทศเพื่อที่จะใช้แปลความคำเฉพาะทางการค้า (Trade Terms) ที่ใช้กันเสมอๆในทางการค้าระหว่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อที่จะ แก้ไขปัญหาเรื่องการแปลความที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศหรืออย่าง น้อยก็เป็นการลดปัญหาดังกล่าวข้างต้น Incoterms เป็นเพียงศัพท์/ถ้อยคำในทางการค้าระหว่างประเทศ (International Commercial Terms) ถ้อยคำนี้แต่ละคำจะ กำหนดอย่างชัดเจนว่า พันธกรณีใดตกเป็นของผู้ซื้อ? และในทางต่างตอบ แทน พันธกรณีใดตกเป็นผู้ขาย?

ความเป็นมา ปีค.ศ.1920 สภาหอการค้าระหว่างประเทศ (International Chamber of Commerce) ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องการ แปลความของคำเฉพาะทางการค้า ผลจากการวิจัยชี้ให้เห็นว่ามีเข้าใจ ความหมายของคำเฉพาะทางการค้าแตกต่างกันในแต่ละประเทศ การตัดสินข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายจึงขึ้นอยู่กับสถานที่ที่ ข้อพิพาทนั้นจะได้รับการพิจารณารวมทั้งกฎหมายของประเทศนั้นๆ ด้วย ซึ่งเป็นที่เป็นได้ชัดเจนว่าความไม่แน่นอนดังกล่าวก่อให้เกิดผลร้ายแกผู้ ซื้อและผู้ขาย และเป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศ

สภาหอการค้าระหว่างประเทศจึงได้จัดทำคู่มือในการแปลความคำเฉพาะทางการค้าระหว่างประเทศขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1936 ในนามของ Incoterms 1936 มีการปรับปรุงแก้ไข Incoterms หลายครั้ง กล่าวคือในปี 1953, 1967, 1976, 1980, 1990 และครั้งสุดท้ายได้มีการแก้ไขในปี 2000 เรียกว่า Incoterms 2000 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2000 เหตุผลที่มีการแก้ไข Incoterms แต่ละครั้งก็เพื่อทำให้กฎเกณฑ์ดังกล่าวมีความเหมาะสมกับประเพณีทางการค้าระหว่างประเทศที่ได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา Incoterms จึงมีประโยชน์ในทางปฏิบัติ โดยไม่มีสถานะบังคับในฐานะของกฎเกณฑ์ของกฎหมายแต่อย่างใด พ่อค้าในโลกทั้งตะวันตกและตะวันออกต่างก็ยอมรับใช้ Incoterms พ่อค้าไทยเองก็ยอมรับใช้ Incoterms ในการประกอบธุรกิจระหว่างประเทศไทย ส่วนรัฐนั้น แม้จะไม่ขัดขวางการใช้ Incoterms แทนกฎหมายของรัฐ แต่การยอมรับ Incoterms ของรัฐก็อยู่ในขอบเขตที่จำกัด

ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการจัดส่งสินค้า ค่าใช้จ่ายในการหีบห่อ (Export Packing) ค่าผ่านพิธีการศุลกากรขาออก (Export Clearance) ค่าขนส่งภายในประเทศ (Inland Transportation) ค่าขนสินค้าขึ้น/ลงยาน (Vessel or Plane Loading and Discharge) ค่าขนส่งระหว่างประเทศ (Main Transportation) ค่าประกันภัยสินค้า (Cargo Insurance) อากรขาเข้าและการผ่านพิธีการฯ (Import Clearance)

รูปลักษณะของ Incoterms 2010 INCOTERMS 2010 ได้ลดคำทางการค้าใน INCOTERM 2000 ลงจากเดิม 13 คำ เหลือ 11 คำ แบ่งออกได้ 4 หมวด 11 ชนิด ดังนี้ หมวด E ประกอบด้วย EXW หมวด F ประกอบด้วย FCA, FAS, FOB หมวด C ประกอบด้วย CFR, CIF, CPT, CIP หมวด D ประกอบด้วย DAT, DAP, DDP

หน้าที่ของผู้ซื้อและผู้ขาย 10 ประการ หน้าที่ของผู้ซื้อและผู้ขาย 10 ประการ The Seller Must The Buyer Must A1 Provision of goods in conformity with the contract (จัดเตรียมสินค้าให้ ถูกต้องตามที่ระบุในสัญญา) A2 Licences, authorisations and fomalities (ใบอนุญาตสินค้า) A3 Contract of carriage and insurance (สัญญารับขน / การประกันภัย) A4 Delivery (การส่งมอบ) A5 Transfer of risks (การโอนการเสี่ยงภัย) B1 Payment of price (ชำระราคา) B2 Licences, authorisations and formalities (ใบอนุญาตสินค้า ) B3 Contract of carriage & Insurance (สัญญารับขน/ ประกันภัย) B4 Taking delivery (รับการ ส่งมอบ) B5 Transfer of risks (การ โอนการเสี่ยงภัย)

The Seller Must The Buyer Must A6 Division of costs (การแบ่งความรับผิดชอบของค่าใช้จ่าย) A7 Notice to the buyer (การส่งคำบอกกล่าวถึงผู้ซื้อ) A8 Proof of delivery, transport document or equivalent electronic message (ข้อพิสูจน์ว่ามีการส่ง ของหรือเอกสาร รวมอิเล็คโทรนิก) A9 Checking – packaging – marking (การตรวจสอบ การหีบห่อและการทำ เครื่องหมายบนหีบห่อ) A10 other obligations (หน้าที่อื่นๆ) B6 Division of costs (การแบ่งความรับผิดชอบของค่าใช้จ่าย) B7 Notice to the seller (การส่งคำบอกกล่าวถึงขาย) B8 Proof of delivery, transport document or equivalent electronic message (ข้อพิสูจน์ว่ามีการส่ง ของหรือเอกสาร รวมอิเล็คโทรนิก) B9 Inspection of goods (การตรวจสอบสินค้า) B10 Other obligations (หน้าที่อื่นๆ)

ตารางแสดงการโอนความเสี่ยงภัยในสินค้าที่เดินทางข้ามชาติตาม Incoterms ชื่อรูปแบบของการส่งมอบสินค้าที่ซื้อขาย ช่วงเวลาที่มีการโอนความเสี่ยงภัยในสินค้าที่กำลังเดินข้ามชาติตาม Incoterms 1.EXW 2.FCA 3.FAS 4.FOB 5.CFR 6.CIF 7.CPT 8.CIP 9.DAT 10.DAP 11.DDP เมื่อมีการส่งมอบสินค้าแก่ผู้ซื้อแล้ว เมื่อผู้รับขนที่ผู้ซื้อจัดหามารับมอบสินค้าแล้ว เมื่อผู้นำขายสินค้ามาวางที่ท่าเทียบเรือที่จะใช้ขนส่ง เมื่อสินค้าถูกขนส่งผ่านกราบเรือมาแล้ว เมื่อสินค้าถูกส่งมอบแก่ผู้รับขนแรก เมื่อสินค้าถูกขนส่งมาถึงท่าเทียบพาหนะขนส่งที่ระบุที่ท่าเรือหรือสถานที่ปลายทาง เมื่อผู้ขายได้นำสินค้าไปส่งแก่ผู้ขาย ณ สถานที่และพาหนะที่กำหนด เมื่อผู้ขายได้นำสินค้าไปส่งแก่ผู้ขาย ณ สถานที่ที่กำหนดแล้ว

EXW EXW (ระบุสถานที่ส่งมอบฺ..THE NAMED PLACE ) INCOTERMS@2010 เงื่อนไข การส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบสินค้าเมื่อ ผู้ขายได้เตรียมสินค้าไว้พร้อม สำหรับส่ง มอบ ให้กับผู้ซื้อ ณ.สถานที่ของผู้ขายหรือณ.สถานที่อื่นๆที่ระบุ(เช่น โรงงาน คลังสินค้า) ผู้ขายไม่จำเป็นต้องขนถ่ายสินค้าขึ้นยานพาหนะที่มารับสินค้าหรือไม่จำเป็นต้องผ่านพิธีการเพื่อการส่งออก โดยผู้ซื้อจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการขนส่งสินค้าไป ยังคลังสินค้าของผู้ซื้อเอง EXW แสดง ให้ เห็นถึงภาระหน้าที่ขั้นต่ำของผู้ขาย Delivery point ที่สถานที่ของผู้ขาย Cost ผู้ขายรับภาระค่าใช้จ่ายเพียงแค่จัดเตรียมสินค้าไว้ที่สถานที่ของผู้ขาย Risk ผู้ขายรับความเสี่ยงภัยเมื่อสินค้ายังอยู่ในสถานที่ของผู้ขายเท่านั้น Customs Clearance เป็นหน้าที่ของผู้ซื้อทั้งการผ่านพิธีการศุลกากรขาออก และการผ่านพิธีการ ศุลกากรขาเข้า Transport ตั้งแต่ต้นทางจนถึง ปลายทาง เป็นภาระรับผิดชอบของผู้ซื้อ

Soutrce: http://www.incotermsexplained.com/cost_insurance_freight.html

FOB FREE On BOARD FOB (ระบุท่าเรือต้นทาง) Incoterms@2010 กฎนี้จะถูกนำไปใช้กับการขนส่งทางทะเลหรือทางน้ำในแผ่นดินเท่านั้น เงื่อนไข การส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบสินค้า เมื่อ ผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าข้ามกาบเรือขึ้น ไปบนเรือสินค้า ณ ท่าเรือต้นทาง ที่ระบุไว้ ผู้ขายเป็นผู้รับผิดชอบการทำพิธีการส่งออกด้วย ส่วนค่าใช้จ่าย ในการขนส่งสินค้า และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รวมทั้งความเสี่ยงภัยในการ ขนส่งสินค้าเป็นภาระของผู้ซื้อ ในทันทีที่ของผ่าน กาบระวางเรือและขึ้นอยู่บนเรือแล้ว Delivery point ที่ในระวางเรือ (เมื่อสินค้าวางอยู่ในระวางเรือเป็นที่เรียบร้อยแล้ว) Cost ผู้ขายรับภาระค่าใช้จ่ายไปจนถึงการนำสินค้าเข้าระวางเรือ Risk ความเสี่ยงของผู้ขายสิ้นสุดเมื่อสินค้าวางอยู่ในระวางเรือที่ท่าเรือต้นทางแล้ว ต่อจากนั้นเป็นความเสี่ยงของผู้ซื้อ Customs Clearance ผู้ขายดำเนินผ่านพิธีการขาออก ผู้ซื้อเป็นผู้ดำเนินการผ่านพิธีการขาเข้า

Soutrce: http://www.incotermsexplained.com/cost_insurance_freight.html

CFR Cost and Freight CFR (ระบุท่าเรือปลายทาง)Incoterms@2010 เงื่อนไข การส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบสินค้าเมื่อ ผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าข้ามกาบเรือ ขึ้นไป บนเรือ ความเสี่ยงต่อการสูญหายหรือเสียหายของสินค้าโอนไปเมื่อสินค้าอยู่บนเรือ ผู้ขายเป็น ผู้รับผิดชอบ ในการผ่านพิธีการทำเพื่อการส่งออก และจ่ายค่าระวางขนส่งสินค้า ส่วนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รวมทั้ง ความเสี่ยงภัยในการขนส่งสินค้าเป็นภาระของผู้ซื้อ Delivery point ที่ในระวางเรือ (เมื่อสินค้าวางอยู่ในระวางเรือสินค้า ณ.ท่าเรือต้นทาง Cost ผู้ขายรับภาระค่าใช้จ่ายและค่าระวางขนส่งไปจนถึงท่าเรือปลายทาง Risk ความเสี่ยงของผู้ขายสิ้นสุดเมื่อสินค้าวางอยู่ในระวางเรือที่ท่าเรือต้นทางแล้ว ต่อจากนั้นเป็น ความเสี่ยงของผู้ซื้อ Customs Clearance ผู้ขายดำเนินพิธีการศุลกากรขาออก ผู้ซื้อดำเนินพิธีการศุลกากรขาเข้า

Soutrce: http://www.incotermsexplained.com/cost_insurance_freight.html

CIF COST, INSURANCE AND FREIGHT (ระบุท่าเรือปลายทาง) Incoterms@2010 เงื่อนไข การส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งมอบสินค้าเมื่อ ผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าไว้บนเรือ หรือจัดหาสินค้าที่ได้ทำการส่งมอบเรียบร้อยแล้ว ผู้ขายเป็นผู้รับผิดชอบในการผ่านพิธีการเพื่อการส่งออก จ่ายค่าระวางเรือ และค่าประกันภัยขนส่ง สินค้าเพื่อคุ้มครอง ความเสี่ยงภัยในการขนส่งสินค้าจนถึงมือผู้ซื้อให้แก่ผู้ซื้อด้วย ผู้ซื้อควรทราบว่าภายใต้CIF ผู้ขายต้องจัดให้ได้มาซึ่งการประกันภัยคุ้มครองเพียงขั้นต่ำสุด เท่านั้น หากผู้ซื้อต้องการให้มีความคุ้มครองที่มากกว่านั้น ผู้ซื้อจำเป็นต้องตกลงกับผู้ขาย ผู้ขายไม่มี ภาระหน้าที่ผ่านพิธีการเพื่อการนำเข้าสินค้า ชำระอากรขาเข้าใดๆ หรือดำเนินการผ่าน พิธีการศุลกากรนำเข้าใดๆ

Soutrce: http://www.incotermsexplained.com/cost_insurance_freight.html

Incoterm คือ อะไร EXW? FOB? CFR? CIF?

ตัวอย่างกรณีการใช้ Incoterm

Source: http://www. gatech

Carriage paid to (CPT) is a commercial term denoting that the seller delivers the goods to a carrier or to another person nominated by the seller, at a place mutually agreed upon by the buyer and seller, and that the seller pays the freight charges to transport the goods to the specified destination. Source: http://www.gatech.pa/docs/publications/en/Other/GTP-Competitive-Advantage-and-Financial-Gain.pdf

Source: http://gregorek.com/michael/professor/IR/Qincoterms.html

Source: Peirce Lee https://www. crowell

E terms (EXW): The seller makes available its goods at their premises in order for the buyer to collect. This is the minimum obligation for the seller. F terms (FCA, FOB, FAS): The seller delivers the goods to a carrier appointed by the buyer. The seller will arrange and pay for delivery of goods to the carrier, but the buyer pays for everything after that. C terms (CFR, CIF, CPT, CIP): The seller has to contract for carriage, but does not assume the risk of loss or damage after the shipment. D terms (DAT, DAP, DDP): The seller bears all risk involved in bringing the goods to the buyer. Source; https://www.shipwire.com/w/blog/incoterms-3-things-you-should-know/