ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต คำใดจากกลุ่ม ก. และ กลุ่ม ข.เหมาะจะเติมลงในช่องว่าง (ก) และ (ข) ตามลำดับ ของคำประพันธ์ต่อไปนี้ ทองกวาวพราวพร่างทั้ง พนา บานแบ่งปลายหนาวลา สู่....(ก)...... สีสดงดงามตา แดงสว่าง ยาม....(ข)......สาดสะท้อน ทุ่งคล้ายทองคำ ก. ๑. เหย้า ข. ๑. แสง ๒. เศร้า ๒. แดด ๓. ร้อน ๓. รังสี ๔. บ้าน ๔. รุ้ง ๕. สุข ๕. สูรย์ Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ใช้คำคำประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ ๒ - ๓ ทั้งสิ้นคือเส้นทางที่สร้างได้ เพียงเธอใช้ความรักเป็นแรงขับ ขับเคลื่อนความฝันอันระยับ ขึ้นอยู่กับเธอทุ่มเทมากเท่าใด ...เหนื่อยแต่อย่ายอมท้อบนเส้นทาง ทุกก้าวย่างยังวาดหวังยังเคลื่อนไหว ความสำเร็จรอโอบกอดเธอไม่ไกล เพียงเธอใช้หัวใจรักช่วยผลักดัน ๒. คำประพันธ์ข้างต้นกล่าวถึงประเด็นใดเป็นสำคัญ ๑. ความรัก ๒. ความฝัน ๓. ความหวัง ๔. ความอดทน ๕. ความจริงใจ Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ใช้คำคำประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ ๒ - ๓ ทั้งสิ้นคือเส้นทางที่สร้างได้ เพียงเธอใช้ความรักเป็นแรงขับ ขับเคลื่อนความฝันอันระยับ ขึ้นอยู่กับเธอทุ่มเทมากเท่าใด ...เหนื่อยแต่อย่ายอมท้อบนเส้นทาง ทุกก้าวย่างยังวาดหวังยังเคลื่อนไหว ความสำเร็จรอโอบกอดเธอไม่ไกล เพียงเธอใช้หัวใจรักช่วยผลักดัน ๓.ศิลปะการประพันธ์ข้อใดปรากฏในคำประพันธ์ข้างต้น ๑. สัญลักษณ์ ๒. บุคคลวัต ๓. การเล่นคำ ๔. การหลากคำ ๕. การเล่นเสียงหนักเบา Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๔. ข้อใดไม่มีความเชื่อ ๑. เป็นเคราะห์กรรมจำพลัดพราก เอ็งพ้นจากเบญจเพสแล้วหรือหลาน ๒. แล้วทำผลอิทธิเจเข้าเจิมพักตร์ คนเห็นคนทักรักทุกหน้า ๓. จึ่งอ่านอาคมขลังตั้งใจ สะกดให้นิทราทั้งธานี ๔. วันพฤหัสวันนี้ดีนักหนา อัยกาจะสอนหนังสือให้ ๕. ลูกเอ๋ยเป็นกำพร้าพระบิดา สุริย์วงศ์พงศาไม่เห็นพักตร์ Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๕. ข้อใดแสดงค่านิยม ๑. ถึงกูตายภายหลังให้ลือชื่อ ว่าใจซื่อถือสัตย์บริสทธิ์ ๒. ประเพณีตีงูให้หลังหัก มันก็มักจะทำร้ายเมื่อภายหลัง ๓. อันเจ็บปวดยอดยิ่งทุกสิ่งมี ไม่เท่าที่เจ็บช้ำระกำรัก ๔. คิดคะนึงถึงมิตรแต่ก่อนเก่า นิจจาเจ้าเหินห่างร้างพิสมัย ๕. ใครจะอยู่ค้ำฟ้าทั้งตาปี ถึงพระศุลีอินทร์จันทร์ย่อมบรรลัย Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๖. คำประพันธ์ต่อไปนี้มีน้ำเสียงอย่างไร เสียดายสายสวาทโอ้ อาวรณ์ รักพี่มีโทษกรณ์ กับน้อง จำจากพรากพลัดสมร เสมอชีพ เรียมเอย เสียนุชดุจทรวงต้อง แตกฟ้าผ่าสลาย ๑. รันทด ๒. ข้องใจ ๓. ปลงตก ๔. แค้นใจ ๕. กลัวเกรง Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ ๗ – ข้อ ๘ ๑. พระเด็ดดอกกาหลงประยงค์แย้ม ให้ทรามวัยใส่แซมมวยผม ๒. อกเอ๋ยไม่เคยเดินไพร เคยสำราญแต่ในพระบูรี ๓. กอพฤกษารายทางหล่นใบผลัด บ้างระบัดใบอ่อนออกเต็มต้น ๔. เห็นเล็บนางแบ่งบานตระการตา เหมือนนขาโฉมงามทรามวัย ๕. ดูดอกสร้อยฟ้าระย้าย้อย เหมือนสายสร้อยประดับทรวงดวงสมร ๗. ข้อใดมีถ้อยคำแสดงอารมณ์ ๘.ข้อใดมีแต่สัมผัสพยัญชนะภายในวรรคเพียงอย่างเดียว ๑. ข้อ ๑ ๑. ข้อ ๑ ๒. ข้อ ๒ ๒. ข้อ ๒ ๓. ข้อ ๓ ๓. ข้อ ๓ ๔. ข้อ ๔ ๔. ข้อ ๔ ๕. ข้อ ๕ ๕. ข้อ ๕ Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๙. วรรคใดไม่มีจิตภาพด้านความเคลื่อนไหว ๑. ทหารโจรรบรับบ้างดับไฟ ๒. บ้างคุดช่องสองข้างเอาวางถัง ๓. ให้น้ำขังดาดฟ้าชลาไหล ๔. ถึงจะทิ้งเพลิงเผาสักเท่าไร ๕. ก็ไม่ไหม้สำเภาเสากระโดง Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๑๐. วรรคใดไม่มีคำที่แสดงจินตภาพด้านแสงสี ๑. เห็นเดือนหงายฉายแสงแจ้งกระจ่าง ๒. ต้องน้ำค้างซัดสาดอนาถหนาว ๓. น้ำกระเซ็นเป็นฝอยดูพร้อยพราว ๔. อร่ามราวเพชรรัตน์จำรัสราย ๕. เขาจุดโคมสายระยางสว่างไสว Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๑๑. คำประพันธ์ต่อไปนี้ใช้ภาพพจน์ตามข้อใด สูงระหงทรงเพรียวเรียวรูด งามละม้ายคล้ายอูฐกะหลาป๋า พิศแต่หัวตลอดเท้าขาวแต่ตา ทั้งสองแก้มกัลยาดังลูกยอ ๑. อุปมา ๒. อุปลักษณ์ ๓. สัญลักษณ์ ๔. สัทพจน์ ๕. บุคคลวัต Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๑๑. คำประพันธ์ต่อไปนี้ใช้ภาพพจน์ตามข้อใด สูงระหงทรงเพรียวเรียวรูด งามละม้ายคล้ายอูฐกะหลาป๋า พิศแต่หัวตลอดเท้าขาวแต่ตา ทั้งสองแก้มกัลยาดังลูกยอ ๑. อุปมา ๒. อุปลักษณ์ ๓. สัญลักษณ์ ๔. สัทพจน์ ๕. บุคคลวัต Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๑๒. ข้อใดเป็นคำถามเชิงวาทศิลป์ ๑. ชี้พระหัตถ์ตรัสบอกพระน้องรัก ประหลาดนักสัตว์นี้มันชื่อไร ๒. เมื่อครั้งโฉมยงอยู่ลงกา ได้เห็นอสุราหรือหาไม่ ๓. ทั้งสองเจ้าเผ่าพงศ์ผู้ใด จงแจ้งไปโดยสัจจา ๔. ครั้งนี้มิชั่วก็เหมือนชั่ว กรรมของตัวจะโกรธโทษใครได้ ๕. ธนูศิลป์ศักดาวิชาการ ใครเป็นอาจารย์สั่งสอนมา Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี (ปี ๖๑) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๑๓. ข้อใดเป็นแนวคิดของคำประพันธ์ต่อไปนี้ งาสารฤาห่อนเหี้ยน หดคืน คำกล่าวสาธุชนยืน อย่างนั้น ทุรชนกล่าวคำฝืน คำเล่า หัวเต่ายาวแล้วสั้น เล่ห์ลิ้นทรชน ๑. ทุกคนควรทำตามอย่างคนดีที่ยึดมั่นในคำพูดของตน ๒. คนชั่วมักจะใช้คำพูดทำเล่ห์กลหลอกล่อให้คนอื่นหลงเชื่อ ๓. คนชั่วพูดอย่างใดอย่างหนึ่งออกไปอาจเปลี่ยนเป็นอย่างอื่นได้ ๔. คำพูดของคนดีเปรียบเหมือนงาช้างที่งอกยาวแล้วไม่กลับสั้นได้อีก ๕. คำพูดของคนชั่วเปรียบเหมือนกับหัวเต่าที่ยืดออกและหดเข้าในกระดองได้ Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี(ปี ๖๐) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๑. ข้อใดไม่แสดงค่านิยม ๑. รักลูกผูกพันแสนทวี เลี้ยงมาไม่ให้มีเคืองใจ ๒. แม้นชีวิตยังไม่มรณา จะอุตส่าห์แทนคุณท่านคนตรง ๓. เกิดในสุริย์วงศ์พงศ์กุมภัณฑ์ ไม่ขยั้นย่อท้อต่อไพริน ๔. โอ้ว่าพระองค์ทรงเดช พระคุณเคยปกเกศเกศี ๕. ถ้าข้ามิสุจริตคิดกลับกลาย ให้ศรศักดิ์จักรนารายณ์สังหาร Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี(ปี ๖๐) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๒. คำประพันธ์วรรคใดมีสัมผัสพยัญชนะ ไม่มีสัมผัสสระ ๑. กราบเสาพรหมศรสะบัดปลาย ๒. กระหนกหน้าวาสุกรีจำหลักลาย ๓. บุษบกที่นังบัลลังก์รัตน์ ๔. หน้ากระดานฐานบัทม์บัวหงาย ๕. แอกอ่อนงอนงามรูจี Dr. Bualak Petchngam
ใช้คำประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ ๓ – ๔ ๑) เป็นช่องชั้นซอกผา / ๒) เลื่อมศิลาแลพราย / ๓)ดังสีระบายลอออ่อน / ๔) เงื้อมชะง่อนงอกหน่อ / ๕) ย้อยเป็นช่อยื่นยาน/ ๖) มีแถวธารไหลหลั่ง ๓. ข้อใดมีจินตภาพด้านแสงสีตามคำประพันธ์ข้างต้น ๑. ส่วนที่ ๑ และส่วนที่ ๒ ๒. ส่วนที่ ๒ และส่วนที่ ๓ ๓. ส่วนที่ ๓ และส่วนที่ ๔ ๔. ส่วนที่ที่ ๔ และส่วนที่ ๕ ๕. ส่วนที่ ๕ และส่วนที่ ๖ วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี(ปี ๖๐) ใช้คำประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ ๓ –๔ ๑) เป็นช่องชั้นซอกผา / ๒) เลื่อมศิลาแลพราย / ๓)ดังสีระบายลอออ่อน / ๔) เงื้อมชะง่อนงอกหน่อ / ๕) ย้อยเป็นช่อยื่นยาน/ ๖) มีแถวธารไหลหลั่ง ๔. คำประพันธ์ข้างต้นส่วนใดมีจินตภาพด้านความเคลื่อนไหว ๑. ส่วนที่ ๑ ๒. ส่วนที่ ๓ ๓. ส่วนที่ ๔ ๔. ส่วนที่ ๕ ๕. ส่วนที่ ๖ วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี(ปี ๖๐) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๕. ข้อใดมีการใช้ภาพพจน์ ๑. แสนวิตกอกเอ๋ยมาอ้างว้าง ในทุ่งกว้างเห็นแต่แขมแซมสลอน ๒. จนดึกดาวพราวพร่างกลางอัมพร กาเรียนร่อนร้องก้องเมื่อสองยาม ๓. ทั้งกบเขียดเกรียดกรีดจังหรีดเรื่อย พระพายเฉื่อยฉิวฉิวระหวิวหวาม ๔. วังเวงจิตคิดคะนึงรำพึงความ ถึงเมื่อยามยังอุดมโสมนัส ๕. สำรวจกับเพื่อนรักสะพรักพร้อม อยู่แวดล้อมหลายคนปรนนิบัติ Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี(ปี ๖๐) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๖. ข้อใดเป็นคำถามเชิงวาทศิลป์ ๑. ดูก่อนกัลยาในวารี เมืองลงกาธานีไปทางไหน ๒. พระโฉมงามนามกรชื่อไร จงบอกไปให้หมดอย่าปดกัน ๓. พระแม่เจ้าเดี๋ยวนี้อยู่ที่ไหน พ่อตั้งเนื้อตั้งใจออกมาหา ๔. กรรมแล้วแก้วตาของพี่เอ๋ย ใครเลยจะช่วยแก้ไข ๕. ถ้าแม้นพระพ่อมาง้องอน มารดรจะดีด้วยหรือไม่ Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี(ปี ๖๐) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๗. คำประพันธ์ต่อไปนี้วรรคใดมีการแสดงอารมณ์ของตัวละคร ๑. อุณากรรณผู้รุ่งรัศมี ๒. ยืนม้าอยู่กลางโยธี ๓. ครั้นปันยีฆ่าระตูมรณา ๔. แลเห็นโลหิตหลั่งไหล ๕. ให้พลุ่งพล่านฤทัยเป็นหนักหนา Dr. Bualak Petchngam
ข้อสอบ O – NET : วรรณคดี(ปี ๖๐) วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๑ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต ๘. ข้อใดเป็นแนวคิดที่ได้จากคำประพันธ์ต่อไปนี้ หอมกลิ่นดอกไม้ที่ นับถือ หอมแต่ตามลมฤๅ กลับย้อน หอมแห่งกลิ่นกล่าวคือ ศีลสัจ นี้นา หอมสุดหอมสะท้อน ทั่วใกล้ไกลถึง ๑. คนที่มีศีลสัจจะจะเป็นคนที่ชื่นชมไปทุกที่ ๒. บรรดาดอกไม้ที่คนนิยมชื่นชอบมักมีกลิ่นหอม ๓. กลิ่นดอกไม้จะลอยมาตามลมก็ได้หรือย้อนกลับก็ได้ ๔. กลิ่นหอมของสัจธรรมเปรียบได้กับกลิ่นหอมของดอกไม้ ๕. การที่คนมีศีลและสัจจะมีค่ากว่ากลิ่นหอมของดอกไม้ Dr. Bualak Petchngam
ใช้ชีวิตเหมือนมันจะสิ้นสุดลงวันพรุ่งนี้, Live like you will die tomorrow, learn like you will live forever. ใช้ชีวิตเหมือนมันจะสิ้นสุดลงวันพรุ่งนี้, เรียนรู้ให้เหมือนชีวิตจะไม่มีวันจบลง. SSRU.ac.th www.themegallery.com