ร่างแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4
ด้านกระบวนการยุติธรรม สภาพปัญหา แนวทางแก้ไข 1 ปัญหายาเสพติด ยังพบทุกพื้นที่ การบัดบัดฟื้นฟู กลุ่มเด็กที่เข้าไปเกี่ยวข้องยาเสพติด 2.ปัญหาการขาดความรู้ด้านกฎหมาย ไม่ทราบสิทธิ การขาดการรับรู้ข่าวสาร ปัญหาการเข้าถึงกระบวนการยุติธะรมและการไม่ได้รับการอำนวยความยุติธรรม 3. ปัญหาการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง ผู้ต้องขังแออัด ผู้พ้นโทษไม่มีงานทำไม่ได้รับการยอมรับ นักโทษยาเสพติด นักโทษประหาร ปัญหาการประกันตัวของผู้ถูกกล่าวหา เหยื่อ/ผู้เสียหายถูกละเลยไม่ได้รับการคุ้มครอง 4. ปัญหาการค้ามนุษย์ การเข้าเมืองผิดกฎหมาย ประชากรแฝง 5.ปัญหาการขาดล่าม ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย 1. การอบรมให้ความรู้ด้านกฎหมายแก่ประชาชน และการอบรมความรู้แก่เจ้าหน้าที่รัฐเพื่อทราบถึงแนปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับประชาชนผู้ใช้บริการ 2 ส่งเสริมการสร้างธรรมาภิบาล โดยพาะหน่วยงานที่ปฏิบัติงานใกล้ชิดกับประชาชน เช่นสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ราบทัณฑ์ เป็นต้น 3 การพัฒนาการบำบัดฟื้นฟู และพิ่มงบประมาณด้านบำบัดยาเสพติดให้เพียงพอ ควรจัดให้มีศูนย์ติดตามเฝ้าระวังและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดรายตำบล โดยให้มีภาคประชาชนในแต่ละท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการเฝ้าดูแล และฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด ให้มีหน่วยงานตรวจสอบดูแล และยับยั้งการระบาดของยาเสพติด การใช้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการทำงานด้วย เพื่อเป็นการถ่วงดุลอำนาจ
ด้านกระบวนการยุติธรรม สภาพปัญหา แนวทางแก้ไข 6. ปัญหาการสอบสวนในชั้นตำรวจ การละเมิดสิทธิผู้ต้องหา 7. ปัญหาการมีข้อกฎหมายอาจขัดหลักสิทธิมนุษยชน เช่น พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 และการยังคงมีโทษประหารชีวิต และกฎหมายที่บังคับใช้เฉพาะพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 8. ปัญหาข้อจำกัดของกฎหมายหลายฉบับที่เกี่ยวกับกลุ่มเปราะบาง เช่นเด็ก ผู้หญิงและผู้สูงอายุ 9 กฎหมายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล ไม่มีการบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ 10 ปัญหาจริยธรรมการเสนอข่าวของสื่อต่างๆที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล 4. การพิจารณาทบทวนการบังคับใช้กฎหมาย และการแก้ไขกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม ที่ขัดกับหลักสิทธิมนุษยชน และกฎหมายที่ไม่ทันสมัยเช่น -พิจารณาปรับแก้ไขฐานความผิดที่กำหนดโทษประหารชีวิตบางฐานความผิดหรือทุกฐานความผิด -การยกเลิกการใช้กฎหมายที่ขัดหลักสิทธิมนุษยชน เช่น พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 และการแก้ไขพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 -การเพิ่มหรือปรับแก้กฎหมายในการปกป้องคุ้มครองเด็กจากสถานการณ์ออนไลน์ให้ทันกับสถานการณ์ -เห็นควรแก้กฎหมาย และหาวิธีดำเนินการให้ความช่วยเหลือแก่กลุ่มผู้กระทำผิดที่เข้าเมืองผิดกฎหมาย - การผลักดันการออกกฎหมายการจดทะเบียนสมรสของกลุ่ม LGBT เพื่อสร้างบรรทัดฐานให้กลุ่ม LGBT เป็นที่ยอมรับของคนในสังคม -ควรแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1448 โดยเพิ่มเกณฑ์อายุขั้นต่ำในการแต่งงานจาก 17 ปีบริบูรณ์ เป็น 18 ปี บริบูรณ์ -กำหนดมาตรการ เกณฑ์การให้สัญชาติแก่ชนกลุ่มน้อยที่มีประวัติในทะเบียนราษของสำนักทะเบียนของกรมการปกครอง -การแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุจากการขนส่ง ต้องบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด ต่อผู้ประกอบการรถยนต์สาธารณะ
กลุ่มผู้ต้องขัง (ผู้ถูกกล่าวหา ผู้ต้องหา นักโทษเด็ดขาด) สภาพปัญหา แนวทางแก้ไข ปัญหาประวัติทะเบียนประวัติอาชญากร คงค้าง พัฒนาระบบทะเบียนประวัติอาชญากรของตำรวจ ปัญหาการประกันตัวผู้ถูกกล่าวหาและผู้ต้องหา ส่งเสริมให้มีการนำข้อกำหนดกรุงเทพ และข้อกำหนดแมนเดลลาไปใช้ปฏิบัติต่อผู้ต้องขังทุกแห่ง ปัญหาการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมของผู้ไม่มีสถานะทางสัญชาติ ปัญหาความแออัดในเรือนจำ ปัญหาโทษประหารชีวิต การใช้การเบี่ยงเบนคดีอาญาออกจากกระบวนการยุติธรรม (Diversion) เพื่อเป็นทางเลือกในการลด จำนวนผู้ต้องขังในเรือนจำ โดยให้โอกาส แก่ ผู้กระทำผิด เล็กน้อยและทำผิดเป็นครั้งแรก การใช้ furlough การพักโทษชั่วคราว การนำรูปแบบธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนมาพัฒนาระบบการดูแลผู้ต้องขัง การเสนอให้มีเรือนจำเอกชน เป็นต้น ปัญหาการใช้เครื่องพันธนาการนักโทษ การกำหนดโทษระดับกลาง เช่น ใช้การไม่ลงโทษจำคุกแต่ใช้การคุมประพฤติที่เข้มงวดกว่าปกติมารายงานตัวถี่บ่อย (Intensive supervision program) การใช้ EM - การใช้การคุมขังที่บ้าน (house arrest)
กลุ่มผู้พ้นโทษ 1. ปัญหาการคืนสู่สังคมและการสร้างงานสร้างอาชีพ สภาพปัญหา แนวทางแก้ไข 1. ปัญหาการคืนสู่สังคมและการสร้างงานสร้างอาชีพ 2.ปัญหาการทำผิดซ้ำของผู้พ้นโทษ การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยให้ผู้พ้นโทษเพื่อสามารถกลับคืนสู่สังคมได้ (reintegrate) การนำรูปแบบธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน มาพัฒนาระบบการช่วยเหลือผู้พ้นโทษ โดยสร้างแรงจูงใจให้ภาคธุรกิจเข้ามามีบทบาทในการผลักดันการสร้างอาชีพ หน่วยงานรัฐควรเป็นต้นแบบในการรับกลุ่มผู้พ้นโทษมาทำงานควรมีมาตรการลดภาษีให้องค์กรที่รับผู้พ้นโทษ และมีมาตรการชดเชยหากมีการกระทำผิดซ้ำ
กลุ่มผู้เสียหาย/ผู้ตกเป็นเหยื่อ สภาพปัญหา แนวทางแก้ไข ปัญหากลุ่มผู้เสียหาย ผู้ตกเป็นเหยื่อไม่ได้รับความคุ้มครอง ปัญหากรณีเหยื่อแพะ ผู้บริสุทธิ์ตกเป็นจำเลย ปัญหาเหยื่อค้ามนุษย์ การประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชนทราบข้อมูลข่าวสารการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม พัฒนากลไกการช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรมหรือผู้เสียหาย โดยใช้ wrap around approach ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมมือกันช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม การนำรูปแบบธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนเ มาพัฒนาระบบการช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรมและการให้บริการเหยืออาชญากรรมหรือผู้เสียหาย
ความสัมพันธ์ระหว่างมิติทางสิทธิมนุษยชนและกลุ่มเปราะบาง ผู้สูงอายุ สตรี เด็กและเยาวชน ผู้พิการ ผู้ป่วย ผู้ติดเชื้อ แรงงานไทย แรงงานต่างด้าว คนเร่ร่อน คนไร้รัฐ กลุ่มชาติพันธุ์ นัก โทษ เพศทาง เลือก เกษตรกร ผู้อาศัยในเขตเมิอง ผู้อาศัยในเขตชนบท นักโทษ ผู้ต้องขัง / พ้นโทษ ผู้เสพยา บำบัด ฟื้นฟู เหยื่อ ผู้ยากไร้ สาธารณสุข X ศึกษา ทรัพยากร ที่อยู่อาศัย ขนส่ง เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ยุติธรรม สิทธิชุมชน