จารย์เวิน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to computers
Advertisements

รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
Work Shop การประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของ มฟล. (VFM)
Faculty of Public Health, Mahasarakham University, Thailand
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
How do scientists think and find( พบ ) answers?.
อาจารย์ วิทูร ธรรมธัชอารี. เนื้อหาในการเรียน  เครื่องมือในการออกแบบและพัฒนาระบบ บัญชีด้วยคอมพิวเตอร์  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล  การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ( ร้อยละ 60) ระดับความสำเร็จใน การบรรลุเป้าหมาย  KPI 1. : ระดับกระทรวง และกรม มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการ ให้บริการ ( ร้อยละ 10)
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
บริษัท จำกัด Logo company
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
ร่าง ปี 2562 (ณ 8 ก.ย. 60) 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
การฝึกอบรมคืออะไร.
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
Lab 01 : พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว
การเขียน Concept Paper & Full Proposal
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
การทำงานเชิงวิเคราะห์
การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
หมวด ๒ กลยุทธ์.
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
นำแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด มาทบทวน
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
แนวทางการบริหารจัดการงานสอบบัญชี
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
การสร้างความร่วมมือระหว่างบ้านและโรงเรียน: บทบาทผู้ปกครองและครู
Introduction to information System
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
ดร.อัญชลี ประกายเกียรติ
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
Click to edit Master title style
การกระจายของโรคในชุมชน
ฝึกปฏิบัติ กระบวนการแผนพัฒนาหมู่บ้าน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม (Social & Culture Change)
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หลักการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย :
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการพัฒนาฝีมือให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และผู้มีรายได้น้อย
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
พลตำรวจตรี สุรัตน์ อรุณฤกษ์ถวิล อาจารย์ (สบ
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
นายชลี ลีมัคเดช ทีมพัฒนาระบบฯ
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จารย์เวิน

จุดหมายของประเทศ 20 ปีข้างหน้า มั่งคั่ง มั่นคง ยั่งยืน

7 ภารกิจหลักของรัฐบาลในการวางรากฐานขอประเทศ 1. ลดความเหลื่อมล้ำ 2. ลดทุจริตคอรัปชั่น 3. ลดความขัดแย้ง 4. การศึกษาและทุนมนุษย์ 5. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวัฒนธรรม 6. โครงสร้างเศรษฐกิจสังคมชุดใหม่ 7. ปรับเปลี่ยนกลไกภาครัฐ

วิสัยทัศน์ประเทศไทย 2558-2577 มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน -ประเทศสงบสุข -ประชาชนปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน -ประชาชนมีความเป็นอยู่ดีขึ้น เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับตลาดโลกโดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้าน(CLMV) -บริหารจัดการภายในประเทศอย่างบูรณาการ -คำนึงถึงความเหมาะสม คุ้มค่าในการปฏิบัติงาน -รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง -มีภูมิคุ้มกันตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง -รักษาความสงบปองดอง -แก้ไขปัญหาชายแดนใต้ -ปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ -บังคับใช้กฎหมาย -ปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ -ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม -แก้ไขปัญหาความมั่นคง แรงงานต่างด้าว ค้ามนุษย์ ประมงผิดกฎหมาย ยาเสพติด -การค้าขายและลงทุนประเทศเพื่อนบ้าน -ช่วยเหลือเกษตรกร -ชดเชย ลดต้นทุนเร่งขาย -พักชำระหนี้ -สร้างความเชื่อมั่น -ส่งเสริมให้มาลงทุน -ท่องเที่ยววิถีไทย -โครงสร้างพื้นฐาน รางคู่ น้ำ -จัดตลาดชุมชน SME -การพัฒนาคำนึงถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรมเชิงนิเวส -เศรษฐกิจพอเพียง -ประหยัดพลังงาน พลังงานทดแทน

สามก้อนเส้ากับแผนชุมชน Scope ขอบเขตในการติด Style รูปแบบในการคิด Step ขั้นตอนในการคิด

สามก้อนเส้ากับแผนชุมชน Scope ขอบเขตในการติด คิดกว้าง ไม่คิดแคบ มองจากข้างนอกเข้าสู่ข้างในก่อน Step ขั้นตอน -ผลลัพธ์ที่ต้องการหรือโจทย์ที่ต้องแก้คืออะไร ควรทำอะไร ไม่ใช่ต้องทำ Style รูปแบบในการคิด -มองไปข้างหน้า คาดการณ์สู่อนาคต -คิดพลิกแพลง ต่อยอดจากของเดิม -ใช้สถานการณ์และสิ่งรอบตัวให้เกิดประโยชน์สูงสุด(ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ -ไม่จำเป็นต้องทำทุกเรื่อง -มองให้หลายมุม มีทางเลือกหลายแบบ

3S ควรรู้ก่อนทำกลยุทธ์ 1. Scope ขอบเขตในการติด -วิเคราะห์สถานการณ์และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย(ทำข้อมูล) -กำหนดโจทย์หลักที่ท้าทายและมีคุณค่า(ใช้ข้อมูลมาตั้งโจทย์) Why : วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ -กำหนดแนวทางแก้ไขโจทย์ What1 : ประเด็นยุทธศาสตร์แก้ไขโจทย์ What2 : ชุดโครงการ How To : ชุดกิจกรรม

3S ควรรู้ก่อนทำกลยุทธ์ 2. Style ขอบเขตในการติด -มองไปข้างหน้า และคาดการณ์อนาคต -ใช้สถานการณ์และสิ่งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์สูงสุด -ปรับตัวตามสถานการณ์ -ต้องการให้กลุ่มเป้าหมายได้รับสิ่งดีๆ มีประโยชน์ มีคุณค่ามากกว่าที่เคยเป็นมา

3S ควรรู้ก่อนทำกลยุทธ์ 3. Step -ไม่ควรคิดว่า จะทำอะไร(What) -แต่ควรคิดว่าผลลัพธ์ที่ต้องบรรลุ(Why) หรือโจทย์ที่ต้องการคืออะไร แก้แล้วมีคุณค่าคืออะไร

ของเดิมมีอยู่/ทำได้แค่ไหน แค่ต่อยอด/ควรทำเพิ่ม หลักคิดสมการแบบง่าย X + Y = Z 2 3 1 ของเดิมมีอยู่/ทำได้แค่ไหน แค่ต่อยอด/ควรทำเพิ่ม อยากได้ / ควรได้ จะทำ Y เพิ่ม(กลยุทธ์) ต้อง -ปฏิบัติง่าย -ทำได้ทันที -ชอบธรรมเป็นที่ยอมรับ -มีหลักการ -เห็นผลประโยชน์ชักเจน -เข้าถึงและได้มาง่าย

ขั้นตอนในการจัดทำแผน X + Y = Z 1. ตั้งโจทย์หลัก (Z) 2. หาข้อมูล (X) 3. กลุ่มเป้าหมาย/ขอบเขตที่ต้องทำ (Y) 4. กำหนดกิจกรรม (X+Y) 5. ตั้งงบประมาณ 6. กำหนดแนวทางแก้ไขโจทย์และโครงการ 7. ทำแผนงาน/โครงการ

ขั้นตอนในการจัดทำแผน 1. ตั้งโจทย์หลัก (Z) -วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์หลัก 2. หาข้อมูล (X) -วิเคราะห์สถานการณ์ -วิเคราะห์ความต้องการ 3. กลุ่มเป้าหมาย/ขอบเขตที่ต้องทำ (Y) -ต่อยอดงานเดิม -สิ่งใหม่ที่อยากทำให้บรรลุเป้าหมาย

4. กำหนดกิจกรรม (X+Y) -เน้นกิจกรรมหลัก -เสริมกิจกรรมรอง 5. ตั้งงบประมาณ -ทำน้อยได้มาก หรือทำมากได้มาก ไม่ใช่ทำมากได้น้อย 6. กำหนดแนวทางแก้ไขโจทย์และโครงการ -เลือกแนวทางที่ตอบโจทย์ 7. ทำแผนงาน/โครงการ -เสนอเพื่ออนุมัติดำเนินการ

5 องค์ประกอบในการจัดทำแผน 1. ข้อมูล (ชัดเจน ถูกต้อง ทันสมัย บูรณาการ) 2. หลักคิด/หลักวิชาร (เหตุ ผล ภาพรวม ปัญหาและแก้ปัญหา) 3. กระบวนการทำ (ระดมสมองทุกภาคส่วน) 4. ผลที่ได้( ได้ผลถูกต้อง ได้มาตรฐาน เกิดประโยชน์ คุ้มค่า) 5. นำแผนไปใช้ได้

ปรากฏการ แบบแผน โครงสร้าง วิธีคิด -สิ่งที่เราพบเห็น -สถานการณ์ในปัจจุบัน ปรากฏการ -กฎ ระเบียบ -แนวทางปฏิบัติ ค่านิยม -ประสบการณ์เดิม -ขนบธรรมเนียมประเพณี แบบแผน -บริบทชุมชน -คณะทำงาน -ศักยภาพชุมชน โครงสร้าง -ปัญหาดั่งเดิม -ข้อมูลข่าวสาร -สภาพสังคม -ความรู้ใหม่ วิธีคิด

ปัญหาสุขภาพตามกลุ่มวัย 0-5ปี/สตรี วัยเรียน กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้พิการ/สูงอายุ

FQ1 : ปัญหาสุขภาพที่ท่านพบเห็นในคนกลุ่มวัยต่างๆ เป็นอย่างไร?

FQ1 : ปัญหาสุขภาพที่ท่านพบเห็นในคนกลุ่มวัยต่างๆ เป็นอย่างไร?

วิเคราะห์ปัญหาตามกลุ่มวัย ปัญหาที่พบ สิ่งที่ทำมาแล้ว สิ่งที่อยากทำ 0-5ปี/สตรี วัยเรียน วัยทำงาน ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ จารย์เวิน

วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ 0-5/สตรี สุขภาพประชาชน อ.เมืองสกลนคร วัยเรียน ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ วัยทำงาน

ปัญหาและการแก้ไขปัญหา เหตุ 1. ปัญหา/ความต้องการ -ปัญหา/ความต้องการคืออะไร (ระบุให้ชัดเจน) -กลุ่มเป้าหมายคือใคร (เกิดกับใคร) -เกิดที่ไหน เมื่อไหร่ มากน้อยแค่ไหน -ผลกระทบเป็นอย่างไร(ส่งผล) 2. กิจกรรมหลัก -สิ่งที่ทำให้เกิดปัญหา : ก่อนเกิดปัญหา(เนื่องมาจาก..คน :ไม่รู้ ไม่เข้าใจ สิ่งของ : ไม่มี ไม่พอ ชำรุด) ผล 3. สาเหตุของปัญหา -สิ่งของ : จัดทำ จัดหา ก่อสร้าง ปรับปรุง -คน : อบรม สัมมนา ประชุม สนับสนุนของ

แผนปฏิบัติการประจำปีตามธรรมนูญสุขภาพตำบล ปีงบประมาณ...................... หน่วยงาน/บ้าน............................ตำบล.......................อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร หมวด/ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด พื้นที่/ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ วิธีการประเมินผล ข้อธรรมสุขภาพตำบล   เวลาดำเนินการ /แหล่ง

ใบงานการเขียนโครงการ 1. กิจกรรมที่ท่านอยากทำคือ.............................................................................. 2. ทำไมต้องทำ : …............................................................................................ ........................................................................................................................... 3. ทำแล้วจะได้อะไร : ....................................................................................... 4. ทำอย่างไร : ................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................……………………………………………………………………………………………………..………. 5. ใช้เงินเท่าไหร่ : .............................................................................................. 6. วัดผลอย่างไร : ..............................................................................................

องค์ประกอบของโครงการ 1. กิจกรรม : ทำอะไร -> ชื่อโครงการ.... 2. ทำไมต้องทำ : หลักการเหตุผล -> ที่มา (แผน, นโยบาย...) -> สภาพปัญหา -> ความจำเป็น 3. ทำแล้วได้อะไร : 3 ผล -> ผลลัพธ์...วัตถุประสงค์ (เพื่อใคร อย่างไร) ผลผลิต...เป้าหมาย (ได้อะไร จำนวน %) ผลกระทบ...ส่งผลให้ (ส่วนรวม) 4. ทำอะไร : ทำอย่างไร -> กิจกรรมหลัก...1..2...3... 5. ใช้เงินเท่าไหร่ : เป็นค่าอะไร -> ค่าวัสดุ ค่าตอบแทน 6. วัดผลอย่างไร : ความสำเร็จ -> วิธีวัด ตัวชี้วัด

หลักการเขียนโครงการ ทำ 1. กิจกรรม : ทำอะไร.. สิ่งของ -> ผลิต, คน -> อบรม/บริการ ได้ 3 ผล 2. ผลผลิตคือ(เป้าหมาย) : ได้อะไร..สิ่งของ -> ได้อะไร, คน -> ได้รับบริการอะไร 3. ผลลัพธ์คือ(วัตถุประสงค์) : เพื่อใคร + อย่างไร.. สิ่งของ -> ใครได้ใช้, คน-> ได้รับ/ได้ใช้ 4. ผลกระทบ : ส่งผลให้ -> ส่วนรวม วัด 5. KPI : ทำ-> ปริมาณงาน เงิน เวลา -ผลผลิต -> QQCT -ผลลัพธ์ -> 2Q2TP

หลักการเขียนโครงการเพื่อของบประมาณ 1. ชื่อโครงการ : ทำอะไร 1. ใช้คำกิริยา ว่ากิจกรรมหลักว่าทำอะไร 2. กิจกรรมหลัก มีมากกว่า 1 ใช้คำว่า พัฒนา ส่งเสริม เสริมสร้าง สร้างเสริม สนับสนุน 3. เขียนให้ชัดเจนว่า ทำอะไร แก่ใคร+เรื่องอะไร(ผลิต : สิ่งของ,บริการ : ทำกับคน) 4. เขียนให้สอดคล้องกับ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย กิจกรรม

2. หลักการและเหตุผล : ทำไมต้องทำ 1. ความเป็นมาจาก (นโยบาย แผน มติ ครม. จากการประชุม กฎหมาย สถานการณ์ ตุการณ์) 2. สภาพปัญหา/ความต้องการ(แก้ไข ป้องกัน พัฒนา) ปัญหาคืออะไร เกิดกับใคร ที่ไหน เมื่อไหร่ สาเหตุจากอะไร มากน้อยเพียงใด 3. ความจำเป็นเร่งด่วน ต้องทำอะไร ทำแล้วแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาอย่างไร ถ้าไม่ทำจะเกิดผลอย่างไร

วัตถุประสงค์โครงการ : ทำเพื่อใคร +ได้ประโยชน์อะไร 1. ทำกิจกรรมหลักเสร็จแล้วใครได้รับผลประโยชน์อย่างไร 2. เขียน1-3 ข้อดูที่กิจกรรมหลักทำอะไร มีกี่ข้อเขียนให้ครบ 3. เขียนต้องสอดคล้องกับสภาพปัญหาในหลักการและเหตุผล(ลบ)และเป้าหมายของโครงการทุกประเด็น

4. เป้าหมายโครงการ : ได้อะไร 1. ผลมาจากการทำกิจกรรมหลัก 2. ได้อะไรเมื่อสิ้นสุดโครงการ 3. วัดที่ตัวเป้าหมายได้ทันที 4. ตัวชี้วัด 4 มิติ เชิงปริมาณ คุณภาพ เวลา ต้นทุน (QQCT) และวัดประสิทธิภาพ

5. วิธีการดำเนินงาน(กิจกรรม) : ทำอะไร 1. กิจกรรมหลัก : นำสู่คนภายนอก 2. กิจกรรมรอง : ส่งต่อ มอบหมาย 3. กิจกรรมสนับสนุน : งานบริหารทั่วไป เช่น งานบุคคล การเงิน การติดตาม

6. ระยะเวลาดำเนินการ -ระยะเวลาที่ดำเนินโครงการ เช่น ระยะเวลา 5 เดือน -ระบุเวลาเริ่มต้นและระยะเวลาสิ้นสุดโครงการ 7. สถานที่ดำเนินการ -ระบุสถานที่ตั้งโครงการว่ากิจกรรมจะทำสถานที่ พื้นที่ใด 8. ผู้รับผิดชอบโครงการ -ระบุว่า ใครหรือหน่วยงานใด เป็นผู้รับผิดชอบ

9. งบประมาณรายจ่าย 10. การประเมินผลโครงการ 1. ระบุค่าใช้จ่าย แยกเป็นหมวดค่าใช้จ่าย..ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดินสิ่งก่อสร้าง 2. ระบุแหล่งที่มาของงบประมาณ เงินกู้ เงินบริจาค เงินช่วยเหลือจากเอกชน หรือต่างประเทศ 10. การประเมินผลโครงการ 1. วิธีการประเมินผล (How to) ใครผู้ประเมินผลโครงการ ประเมินเมื่อไหร่อย่างไร ประเมินอย่างไร (3ส1อ) สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต เอกสาร 2. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ (KPI) -ตัวชี้วัด : วัดอย่างไร(วัตถุประสงค์(Outcome) 2Q2TP, เป้าหมาย(Output) QQCT -ตัวชี้วัดจำนวน : ใช้วัดระดับกิจกรรมและ Input เช่น จำนวน ร้อยละ

11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ -ระบุประโยชน์(ทางอ้อม)ที่จะเกิดกับกลุ่มบุคคลหรือพื้นที่ องค์กร ชุมชน -ระบุผลกระทบในทางบวกที่ได้จากการมีโครงการ(Impact)เขียนในลักษณ์ส่งผล ทำให้เกิด มีผลต่อ

สรุป กรอบ 5 ความ(5c) ในการเขียนโครงการ 1 ความถูกต้อง (Correct) -รูปแบบ (Format) ,เนื้อหา ,หลักภาษา 2. ความชัดเจน (Clear) อ่านแล้วเข้าใจง่าย 3. ความรัดกุม (Confirm) อ่านแล้วไม่ต้องตีความ 4. ความกระชับ (Concise) สั้น กระชับ กะทัดรัด ไม่ฟุ่มเฟือย วกวน ซ้ำซาก ซ้ำกันในที่ใกล้กัน 5. ความโน้มน้าว (Convince)

จารย์เวิน

สิ่งที่อยากทำหรือแก้ไข 1. กลุ่มอายุ 0-5 ปี ปัญหาที่พบ สิ่งที่อยากทำหรือแก้ไข กลุ่มเด็ก 1. ไอคิวต่ำ 2. ดื่มนมแม่ไม่ถึง 6 เดือน 3. เด็กมีพัฒนาการไม่สมวัย 4. ภาวะโภชนาการเกิน/ขาด 5. เด็กรับวัคซีนไม่ครบ 6. น้ำหนักแรกเกิดต่อกว่าเกณฑ์ 1. สร้างเสริม อีคิว 2. กระตุ้นสายใยรักในครอบครัว 3. ให้ความรู้และส่งเสริมผู้ปกครองให้ปฏิบัติตัวให้เหมาะสม 4. สร้างความตระหนักในการเข้ารับวัคซีนและจัดระบบวัคซีนที่มีประสิทธิภาพ 5. ติดตามเยี่ยมหลังคลอด จารย์เวิน

2. แม่ขาดความรู่ที่ถูกต้องในการเลี้ยงลูก กลุ่มสตรี 1. แม่ตาย 2. แม่ขาดความรู่ที่ถูกต้องในการเลี้ยงลูก 3. วัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ 4. ฝากครรภ์คุณภาพไม่ครบตามเกณฑ์ 5. มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม 6. โรคเครียด 7. ไม่มีงานทำ 1. ส่งเสริมการฝากครรภ์ให้ได้คุณภาพ 2. ส่งเสริม อสม.ดูแลหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ 3. เฝ้าระวัง ตรวจคัดกรอง และดูแลรักษา 4. เฝ้าระวัง คัดกรอง 2Q ทุกปี 5. ให้ความรู้ อบรมอาชีพเสริม ส่งเสริมอาชีพ 6. ให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง จารย์เวิน

สิ่งที่อยากทำหรือแก้ไข 2. กลุ่มอายุ 6-14 ปี ปัญหาที่พบ สิ่งที่อยากทำหรือแก้ไข 1. อุบัติเหตุทางถนน 2. เด็กจมน้ำ 3. ล่วงละเมิดทางเพศ 4. มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 5. ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 6. ยาเสพติด/การพนัน/เด็กติดเกมส์ 7. ภาวะโภชนาการเกิน/ขาด 8. โรคในช่องปาก 9. โรคติดต่อ(สุกใส,ไข้เลือดออก,มือเท้าปาก,ตาแดง,ไข้หวัด,โรคผิวหนัง,อาหารเป็นพิษ) 1. หามาตรการให้การดูแล ช่วยเหลือ 2. แนะนำผู้ปกครองเพื่อเฝ้าระวังบุตรหลาน 3. ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาในกลุ่มเป้าหมาย 4. ควบคุมร้านเกมส์ และตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง 5. ให้ความรู้เรื่องโภชนาการแก่เด็กและผู้ปกครอง 6. ส่งเสริมแลสุขภาพในช่องปากให้ครอบคลุม 7. ให้ความรู้ในการป้องกันและดูแลตัวเองเมื่อเกิดโรค 8. จัดค่ายเสริมสร้างทักษะชีวิต 9. ให้ความรู้ในกลุ่มเพื่อนให้สามารถแนะนำกันได้ 10. จัดกลุ่มดูแลวัยเดียวกัน จารย์เวิน

สิ่งที่อยากทำหรือแก้ไข 3. กลุ่มอายุ 15-21 ปี ปัญหาที่พบ สิ่งที่อยากทำหรือแก้ไข 1. พฤติกรรมก้าวร้าว 2. พฤติกรรมไม่เข้าสังคม 3. ติดเกมส์/ติดสื่อ 4. เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน 5. ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 6. รับประทานอาหารขยะ 7. ใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง 8. ติดเพื่อน/ติดการพนัน/ติดสารเสพติด 9. ปัญหาด้านการศึกษา 1. จัดค่ายทักษะชีวิต/ค่าเยาวชน 2. ให้ความรู้เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 3.จัดตั้งกลุ่มเพื่อดูและตัวเองในวัยรุ่น(เพื่อนใจวัยรุ่น/เพื่อนเตือนเพื่อน) 4. ให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัย 5. ให้ความรู้เรื่องการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย 6. ส่งเสริมกิจกรรมวัยรุ่น/การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 7. ส่งเสริมการเรียนนอกระบบ/การอบรมอาชีพเสริม จารย์เวิน

สิ่งที่อยากทำหรือแก้ไข 4. วัยทำงาน (อายุ 22-59 ปี) ปัญหาที่พบ สิ่งที่อยากทำหรือแก้ไข 1. การเมือง/ สังคม 2. ขาดรายได้/ตกงาน 3. ปัญหาครอบครัว 4. หนี้สิน/การพนัน 5. เจ็บป่วยเรื้อรัง/โรคเรื้อรัง 6. ถูกล่วงละเมิดทางเพศ 7. การวางแผนครอบครัว 8. โรคจากการทำงาน –สายตาผิดปกติ –ปวดกล้ามเนื้อ – สารเคมีตกค้าง 9. การบริโภคไม่เหมาะสม(อ้วน) 10. อุบัติเหตุจากการทำงาน 11. ขาดการออกกำลังกาย 12. โรคมะเร็ง 13. สุขภาพจิต (ซึมเศร้า / เครียด/ฆ่าตัวตาย) 14. ยาเสพติด /สุรา/บุหรี่ 1. ให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมการทำงาน/อาชีวะอนามัย 2. ส่งเสริมการออกกำลังกายที่ถูกต้องและเหมาะสม 3. ส่งเสริมการทำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน 4. ส่งเสริมกิจกรรมทางศาสนา/จิตอาสา/สังคมเอื้ออาทร 5. จัดกิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์/จัดชุมชนบำบัดผู้ติดยา 6. อบรมอาชีพเสริม/ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 7. อบรมเรื่องผลกระทบจากการใช้สาเคมีต่อสุขภาพให้กับผู้เกี่ยวข้อง 8. คัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน 9. สร้างกระบวนการเรียนรู้ในกลุ่มป่วย/กลุ่มเสี่ยงให้ดูแลสุขภาพตนเองได้ 10. ส่งเสริมการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง 11. ส่งเสริมกิจกรรมของกลุ่มในชุมชนให้ช่วยเหลือกัน 12. ส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้เข้มแข็ง จารย์เวิน

5. กลุ่มผู้พิการ /ผู้สูงอายุ 6 ปีขึ้นไป สิ่งที่อยากทำหรือแก้ไข ปัญหาที่พบ สิ่งที่อยากทำหรือแก้ไข 1. ด้านสายตา 2. สุขภาพช่องปาก 3. โรคเรื้อรัง / มีภาวะแทรกซ้เอน 4. ขาดผู้ดูแล /ผู้สูงอายุไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ 5. ขาดรายได้ (รายได้ไม่เพียงพอ) 6. ขาดการประเมิน ADL จึงขาดการดูแลที่เหมาะสม 7. ขาดการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายผู้พิการอย่างต่อเนื่อง 8. ขาดการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย 9. ปัญหาล่วงละเมิดทางเพศ 10. ปัญหาสุขภาพจิต 1. จัดบริการคัดกรองผู้ป่วยในชุมชน 2. ส่งเสริมการดูแลกันเองในชุมชน 3. จัดตั้งศูนย์ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน 4. จัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้สูงอายุในชุมชน 5. ส่งเสริมอาชีพเสริมในกลุ่มผู้สูงอายุ/ผู้พิการ 6. ส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม 7. สนับสนุนจัดกิจกรรมของกลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการในวันสำคัญต่างๆ จารย์เวิน

สรุปปัญหาสุขภาพของประชาชน อ.เมืองสกลนคร 1. โรคเรื้อรัง(NCD) 2. การใช้สารเคมีในเกษตรกร 3. ยาเสพติดในชุมชน 4. การจัดการขยะในชุมชน 5. โรคอ้วน 6. ไข้เลือดออก 7. กินอาหารสุกๆดิบๆ 8. จำหน่ายสินค้า ไม่มี อย. 9. กินอาหาร หวาน มัน เค็ม 10. การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 11. ผู้สูงอายุและผู้พิการ 12. สุขภาพจิตและจิตเวช 13. น้ำประปาไม่ได้มาตรฐาน 14. ประชาชนไม่ออกกำลังกาย 15. ปัญหาทุพโภชนาการ 16. ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย 17. ปัญหาความปลอดภัยอุบัติเหตุจราจร 18. น้ำดื่มไม่สะอาด จารย์เวิน

ลำดับความสำคัญของปัญหา 10 ปัญหา 1. โรคเรื้อรัง(NCD) 2. ยาเสพติด 3. ไข้เลือดออก 4. น้ำประปาไม่ได้มาตรฐาน 5. การจัดการขยะในชุมชน 6. ปัญหาความปลอดภัยอุบัติเหตุจราจร 7. สุขภาพจิตและจิตเวช 8. ประชาชนไม่ออกกำลังกาย 9. การใช้สารเคมีในเกษตรกร 10. กินอาหารสุกๆดิบๆ จารย์เวิน

สวัสดี