การลัดวงจรในระบบไฟฟ้ากำลัง Fault in Power System Piyadanai Pachanapan, 303427 Power System Analysis, EE&CPE, NU
สาเหตุการเกิดการลัดวงจรในระบบไฟฟ้า ระดับแรงดันสูง (115 kV, 230 kV, 500 kV) - ฟ้าผ่า ฉนวนเกิดการแฟลชโอเวอร์ (สูญเสียความเป็นฉนวน) - ฉนวนหมดสภาพ เนื่องจากสภาพอากาศ หรือ หมดอายุใช้งาน
สาเหตุการเกิดการลัดวงจรในระบบไฟฟ้า ระดับแรงดันกลาง (22 kV, 24 kV) - ฟ้าผ่า –> ฉนวนเกิดการแฟลชโอเวอร์ (สูญเสียความเป็นฉนวน) - กิ่งไม้จากต้นไม้สูงมาพาดสาย - สัตว์เลื้อยคลาน เช่น งู - เสาไฟฟ้าหัก อันเนื่องจากอุบัติเหตุ เช่น รถชน, น้ำท่วม
ประเภทการลัดวงจรในระบบไฟฟ้า ฟอลต์แบบสมมาตร (Symmetrical Faults) - การลัดวงจรแบบ 3 เฟส (Three Phase Fault) ฟอลต์แบบไม่สมมาตร (Unsymmetrical Faults) - Single line to ground faults - Double line to ground faults - Line to Line faults
โอกาสการเกิดการลัดวงจรในระบบไฟฟ้า Line to Ground Fault = 70 % Line to Line Fault = 15 % Double Line to Ground Fault = 10 % Three Phase Fault = 5 %
ประโยชน์ของการศึกษาการลัดวงจรในระบบไฟฟ้า เป็นข้อมูลประกอบในการพิจารณาเลือกอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้า - เซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) - รีเลย์ (Relay) - ฟิวส์ (Fuse) เป็นข้อมูลประกอบในการพิจารณาติดตั้งตำแหน่งอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้า (Co – Ordination) ศึกษาในเรื่องเสถียรภาพของระบบ