ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Advertisements

สถิติที่ใช้ในการวิจัย
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
การเขียนโครงร่างวิจัย
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
การวัด Measurement.
การนำเข้าข้อมูล โปรแกรม Epidata.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์และการแปลผล
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
การวิเคราะห์แปลผลข้อมูล
การออกแบบปัญหาการวิจัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ
ความรู้เบื้องต้นเรื่องการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
Multistage Cluster Sampling
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
บทที่ 9 กรรมวิธีทางข้อมูล
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
Chapter 3: Measures of Central Tendency and Measure of Dispersion
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
สถิติเพื่อการวิจัยทางการเกษตร STATISTICS FOR AGRICULTURAL RESEARCH
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย มูลนิธิสุขภาพภาคใต้
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
Control Chart for Attributes
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
สถิติเพื่อการวิจัย อัญชลี จันทาโภ.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

03759491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน 03759491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน และการลงทุน Basic Research Methods in Financial and Investment เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ สิทธิเดช บำรุงทรัพย์ ณรงค์พงศ์ เพิ่มผล คณะวิทยาการจัดการ 3-4 : 6/7 ส.ค. 62

หัวข้อการบรรยาย 1 1 ขั้นตอนการวิจัย 2 ประเด็นการออกแบบวิจัยเบื้องต้น 3 การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย 3 เกณฑ์การเขียนข้อเสนอและรายงานการวิจัย 4

Refine the Research Question(s) Research Proposal Basic Research Design Discover the Management Dilemma Define the Management Question Define the Research Question(s) Refine the Research Question(s) Exploration Exploration Research Proposal

Research Design Basic Research Design Design Strategy (Type, Purpose, Time Frame, Scope, Environment Data Collection Design Data Collection Design Question and Instrument Pilot Testing Instrument Revision

Data Collection and Preparation Data Analysis and Interpretation Basic Research Design Data Collection and Preparation Data Analysis and Interpretation Legend Research Reporting Research Planning Data Gathering Management Decision Analysis Interpretation, And Reporting

Basic Research Design Basic Research Design : Data Processing/ Organization Data Collection Analysis of Data Variables Source of Data

1) Variables Basic Research Design 1.1) Type of Variables Independent variable (S) , X Dependent variable (S) , Y Extraneous Variable/Control Variable (S) , Z - Extraneous variable (S) - Intervening variable (S) - Suppressive variable (S) 1.2) Extraneous Variable/Control Variable - Background - Development/Change - Others : Homogeneity and Heterogeneity : Identity : Time : Place, Location

2) Source of Data Basic Research Design 2.1) Type of Data : - Primary Data / Secondary Data - Quantitative Data / Qualitative Data - Time Series Data / Cross Sectional Data - Level of Data (Measurement) Nominal /Categorical Scale : Equivalence Ordinal Scale Interval Scale Ratio Scale 2.2) Population/Universe and Element/Unit - Finite population - Infinite population 2.3) Sample/Subject

2) Source of Data Basic Research Design 2.4) Target/Parent Population and Control group 2.5) Sample Size and Sampling/Selection Sample Size : - Formulation - Table Sampling : Probability sampling 1. Simple Random Sampling : Lottery + Simple Random Sampling with Out Replacement + Simple Random Sampling with : Random Table

2) Source of Data Basic Research Design 2. Systematic Random Sampling 3. Stratified Random Sampling 4. Cluster Random Sampling 5. Multi-Stage Random Sampling Selection : Non-Probability sampling 1. Accidental/Convenience Sampling 2. Quota Sampling 3. Purposive Sampling 4. Snowball sampling

3) Data Collection Basic Research Design 3.1) Survey/Experiment 3.2) Tools/Instruments 3.3) Qualitative of Tools/Instruments - ความเที่ยงตรง (Validity) - ความเชื่อมั่น (Reliability) - ความยากง่าย (Difficulty) - อำนาจจำแนก (Discrimination) - ความเป็นปรนัย (Objectivity) - ใช้ Expert judgment - ใช้ try-out/Statistics

4) Data Processing/Organization Basic Research Design 4) Data Processing/Organization 4.1) ใครดำเนินการ โดยวิธีการใด 4.2) จะได้รับความร่วมมือหรือไม่ วางแผนแก้ปัญหาอย่างไร 4.3) ตรวจสอบรวบรวมข้อมูล : ถูกคน ถูกที่ ถูกเวลา และถูก สถานการณ์ 4.4) การดำเนินการกับข้อมูล

5) Analysis of Data Basic Research Design 5.1) การมาตรวัดตัวแปร : 4 ระดับ - Nominal Scale /Categorical Scale - Ordinal Scale - Interval Scale - Ratio Scale 5.2) การเลือกใช้เทคนิคการวิเคราะห์ : Means / Proportion 5.2) การเลือกใช้สถิติ : Descriptive Statistics/Inferential Statistics 5.4) การต้องตอบวัตถุประสงค์วิจัย 5.5) การตอบต้องหาลักษณะหรือค่าใดจากข้อมูล

การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย สถิติเชิงพรรณนา Descriptive Statistics สถิติ Statistics สถิติอนุมาน Inferential Statistics

สถิติเชิงพรรณนาเป็นการสรุปลักษณะของข้อมูลที่เก็บมาได้ การแจกแจงความถี่ Frequency ค่าร้อยละ Percentage Add Your Text ค่าเฉลี่ย Mean สถิติเชิงพรรณนา Descriptive Statistics การวัดแนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลาง Central Tendency ค่ามัธยฐาน Median ค่าฐานนิยม Mode ค่าพิสัย Range การวัดการกระจาย Measure of Variation ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ Quartile Deviation Add Your Text Add Your Text Add Your Text ส่วนมาตรฐาน Standard Deviation

สถิติพาราเมตริกและนอนพาราเมตริก ประเด็น สถิติพาราเมตริก สถิตินอนพาราเมตริก กลุ่มตัวอย่าง ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก ระดับการวัด Interval, Ratio scale Ordinal, Nominal scale การแจกแจงของข้อมูล การแจกแจงเป็นปกติ การแจกแจงข้อมูล ไม่จำเป็นต้องปกติ ค่าความแปรปรวน จำเป็นต้องเท่ากัน ไม่จำเป็นต้องเท่ากัน ข้อตกลงเบื้องต้น ต้องมีครบทั้ง 3 ประการ (เงื่อนไขมาก) ไม่ต้องมีครบทั้ง 3 ประการ (เงื่อนไขน้อย) การตั้งสมมติฐาน ต้องมีการกำหนดสมมติฐาน มีการกำหนดสมมติฐานหรือไม่ก็ได้ การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สามารถอธิบายความสัมพันธ์และ ขนาดของความสัมพันธ์ สามารถอธิบายความสัมพันธ์แต่ไม่สามารถอธิบายขนาดของความสัมพันธ์ การอนุมานแบบไม่มีพารามิเตอร์มีพลังการอธิบายน้อยกว่าการอนุมานแบบมีพารามิเตอร์ : : ไม่สามารถบอกขนาดและทิศทางของความสัมพันธ์ : ข้อมูลสามารถใช้การอนุมานแบบพารามิเตอร์ได้ ควรหลีกเลี่ยงการอนุมานแบบไม่มีพารามิเตอร์

สถิติอนุมานเป็นการใช้หลักความน่าจะเป็น (Probability) มาทดสอบสมมติฐาน การแจกแจงแบบที t-test One Sample Test Independent Samples Test สถิติอนุมานแบบมีพารามิเตอร์ Parametric Inference การแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน Z-test Dependent Samples Test การวิเคราะห์แบบแปรปรวน Anova การแจกแจงแบบไคแสแควร์ Chi-Square สถิติอนุมาน Inferential Statistics สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Correlation Coefficient การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ Regression Chi Square ตัวแปรระดับกลุ่ม (Nominal) สถิติอนุมานแบบไม่มีพารามิเตอร์ Non Parametric Inference Median Test Sign Test Add Your Text Add Your Text Spearman ตัวแปรระดับดันดับ (Ordinal) Mann-Whitney Wilcoxon

สถิติอนุมานเป็นการใช้หลักความน่าจะเป็น (Probability) มาทดสอบสมมติฐาน การแจกแจงแบบที t-test One Sample Test Independent Samples Test สถิติอนุมานแบบมีพารามิเตอร์ Parametric Inference การแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน Z-test Dependent Samples Test การวิเคราะห์แบบแปรปรวน Anova การแจกแจงแบบไคแสแควร์ Chi-Square สถิติอนุมาน Inferential Statistics สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Correlation Coefficient การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ Regression Chi Square ตัวแปรระดับกลุ่ม (Nominal) สถิติอนุมานแบบไม่มีพารามิเตอร์ Non Parametric Inference Median Test Sign Test Add Your Text Add Your Text Spearman ตัวแปรระดับดันดับ (Ordinal) Mann-Whitney Wilcoxon

ความสำคัญของตัวแปร มาตรวัดตัวแปร การเลือกใช้สถิติ Scale Descriptive Inferential 1. Nominal Scale บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ แจกแจงความถี่ Percent Tabular Chart วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง Mode วัดความสัมพันธ์ Phi Correlation 2 -test Binomial Test 2. Ordinal Scale บวกถึงความแตกต่างของ หน่วยการวัด แต่ระยะห่าง ของแต่ละหน่วยไม่สามารถ ระบุได้ จึงบวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ แจกแจงความถี่ Percent Tabular Chart วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง Mode, Median วัดการกระจาย Range วัดความสัมพันธ์ Spearman Rank-order Correlation 2 -test

ความสำคัญของตัวแปร มาตรวัดตัวแปร การเลือกใช้สถิติ Scale Descriptive Inferential 3. Interval Scale บวก ลบ คูณ หารกันได้ เพราะความแตกต่างของแต่ ละหน่วยในตัวแปรระยะห่าง เท่าๆ กัน แจกแจงความถี่ Percent Tabular Chart วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง Mean วัดการกระจาย Standard Deviation วัดความสัมพันธ์ Pearson Correlation 2– test t-test, F-test, Anova, Regression Analysis 4. Ratio Scale บวก ลบ คูณ หารกันได้ และมีศูนย์แท้ แจกแจงความถี่ Percent Tabular Chart วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง Mean วัดการกระจาย Standard Deviation วัดความสัมพันธ์ Pearson Correlation 2 –test t-test, F-test, Anova, Regression Analysis

การเลือกใช้สถิติเบื้องต้น ความสำคัญของตัวแปร การเลือกใช้สถิติเบื้องต้น จุดมุ่งหมาย บรรยายลักษณะตัวแปร แจกแจงความถี่ จัดลำดับเปรียบเทียบ วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง วัดการกระจาย วัดความสัมพันธ์ Tabular presentation, Frequency Proportion, Ratio, Percent Mean, Median, Mode Standard Deviation, Variance Correlation เปรียบเทียบความแตกต่าง ความถี่ หรือสัดส่วน ค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน 2 –test Binomial Test t-test, One-way Anova F-test บรรยายความสัมพันธ์ Correlation 4. เพื่อทำนาย Trend analysis, Regression Analysis

Research Proposal and Report 1. ความชัดเจน (Clarity) : การเขียนต้องแจ่มชัด ไม่คลุมเครือ กำกวม สามารถอธิบายแนวคิด กระบวนการเป็นตามลำดับขั้นตอน ความเหมาะสมอย่างสมเหตุสมผลและเข้าใจง่าย 2. ความกะทัดรัด (Conciseness) : การเขียนใช้ถ้อยคำที่กะทัดรัด ตรงจุด (Precise) ไม่ขยายความจนวกวน/ซ้ำซาก 3. ความสมบูรณ์ (Completeness) : เสนอสาระสำคัญของงานวิจัย อย่างครบถ้วนตั้งแต่แนวคิด เป้าหมาย วิธีการ จนถึงผล/ข้อสรุปต่างๆ 4. ความถูกต้อง (Accuracy) : การเสนออย่างตรงไปตรงมา ไม่บิด เบือนจากความเป็นจริงที่ศึกษา/ค้นพบ หลีกเลี่ยงการเสนอแนวคิด นอกเหนือขอบเขตการวิจัย ไม่ควรจะรีบด่วนสรุป (Jump Conclusion) ความซื่อตรง (Honesty) : การเสนอต้องไม่ปิดบังข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้น ไม่แก้ไข/เปลี่ยนข้อมูล ไม่เปลี่ยนแปลงสมมติฐานตามผล ไม่ลำเอียงส่วนตัวหรือลอกผลงานผู้อื่นแต่ไม่อ้างอิง