ระดับบริหารทางการพยาบาล จุฑารัตน์ เพ็ญเขตต์วิทย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การตรวจสอบภายในที่ไม่ใช่การจับผิด ทำอย่างไร ?
Advertisements

Chapter 3 Strategic Alignment Maturity
การบริหารคุณภาพองค์กร
ไม่แสดงให้เห็นว่ามีแนวคิดในการปรับปรุง PMQA Learning ระดับ 0 No evidence.
Pharmacogenomics Project TCELS Oracle รามาธิบดี. Oracle HTB ทำหน้าที่เป็น Data Repository จัดสรร Service Infrastructure ต่างๆ เพื่อนำไปพัฒนาใช้ใน ระบบโรงพยาบาล.
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
การฝึกอบรมคืออะไร.
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
แนวทางการประเมินองค์กรสำหรับหมวดที่ 1-6
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
การจัดบริการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
บทที่ 5 แบบจำลองกระบวนการ
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Risk Management System
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
การเยี่ยมสำรวจภายใน HA 401
Advanced Topics on Total Quality Management
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
การประเมินคุณภาพการพยาบาล
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ดร.อัญชลี ประกายเกียรติ
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
ชีวิตหลังจบมหาวิทยาลัย = 0 เล่าให้น้อง ๆ โดยพี่ยักษ์ (จตุพร สวัสดี)
ปฏิบัติงานการแสดง อ.ดร.กุสุมา เทพรักษ์.
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
Risk Management in New HA Standards
รัชนีย์ วงค์แสน งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  ENL2311 Paragraph Writing
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
แนวทางการประเมินผลงานวิชาการ จังหวัดนครศรีธรรมราช
แนวทางเก็บตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2562
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
แผนกำลังคนหน่วยบริการในระดับตติยภูมิ
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ ณ ห้องประชุม บก.ยศ.ทร. ชั้น 2
พว.พิมพ์วรา อัครเธียรสิน
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
Medical Communication/Counseling Training for the “Trainers” คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ธันวาคม 2558.
การแต่งกายของเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานสาธารณสุข
เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ HA
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระดับบริหารทางการพยาบาล จุฑารัตน์ เพ็ญเขตต์วิทย์ มาตรฐานบริการ : ระดับบริหารทางการพยาบาล จุฑารัตน์ เพ็ญเขตต์วิทย์

มาตรฐานการพยาบาล สำนักการพยาบาล มาตรฐานบริหารการพยาบาล ลักษณะสำคัญขององค์กร 4. การวัด วิเคราะห์ การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการพัฒนาองค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์กร 7. ผลลัพธ์ การให้การบริการพยาบาล 3. การให้ความสำคัญ กับผู้ใช้บริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 1. กระบวนการพยาบาล 1.1 การประเมินการพยาบาล 1.2 การวินิจฉัยการพยาบาล 1.3 การวางแผนการพยาบาล 1.4 การปฏิบัติการพยาบาล 1.5 การประเมินผลการพยาบาล 2. การดูแลต่อเนื่อง 3. การสร้างสุขภาพ 4. การคุ้มครองสุขภาพ 5. การให้ข้อมูลและความรู้ด้านสุขภาพ 6. การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย มาตรฐานการบริการพยาบาล มาตรฐานการพยาบาล ในโรงพยาบาล ฉบับ พ.ศ. 2549 มาตรฐานบริการพยาบาล และการผดุงครรภ์ระดับ ทุติยภูมิและตติยภูมิ กระบวนการพยาบาล การพยาบาลองค์รวม สำนักการพยาบาล Pchutha เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินคุณภาพการพยาบาลภายนอกเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ ชุติกาญจน์ หฤทัย สำนักการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

มาตรฐานการพยาบาลในรพ. เกณฑ์ประเมินคุณภาพ เขียวคลาสสิก 2542 สุพรรณหงษ์ 2549 2550 นกบิน 2547 นกบิน 2547 หงษ์บิน 2555 11/6/2019 Pchutha

เครื่องมือการพัฒนา : เครื่องมือการประเมิน กระบวนการพัฒนา คุณภาพการพยาบาล NQA CQI EBP R2R External Audit QA HA HCQA ควบคู่ 11/6/2019 Pchutha

QA 2550-55 มาตรฐานการพยาบาล : เครื่องมือประเมิน มาตรฐานการพยาบาลในรพ. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 ปี 2550 เกณฑ์ประเมินคุณภาพการพยาบาล ฉบับปรับปรุง ปี 2555 11/6/2019 Pchutha

ทักษะของผู้ประเมินคุณภาพ ความสมบูรณ์สอดคล้อง เชื่อมโยงกันของเอกสาร ระบบและกลไกการดำเนินงาน ควรศึกษาและทำความเข้าใจเอกสารประกอบการประเมินคุณภาพฯ ล่วงหน้าก่อนลงประเมินในหน่วยงาน การทบทวนและวิเคราะห์เอกสาร การตั้งคำถามที่ก่อให้เกิดการค้นหาปัญหา การสะท้อนคิด และโอกาสของการพัฒนา ห้ามใช้คำถามที่ก่อให้เกิดความอึดอัดและความขัดแย้ง การฟังอย่างตั้งใจ ไม่อคติหรือตีความ การให้กำลังใจ การเสริมสร้างพลังอำนาจอย่างเหมาะสม การสัมภาษณ์/การสนทนา สภาพอาคารสิ่งแวดล้อม ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ ความปลอดภัย วิธีการปฏิบัติงานของบุคลากร บรรยากาศในการปฏิบัติงาน ผู้ประเมินต้องเชื่อมโยง เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มีความสมบูรณ์ น่าเชื่อถือ การสังเกต ทักษะของผู้ประเมินคุณภาพ 11/6/2019 Pchutha

Key Success Factor Same Language ภาษาเดียวกัน Same Personal บุคลากรไม่ย้ายบ่อย Patient Empowerment ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการดูแล Network of care เครือข่ายสถานบริการและผู้ป่วย Active Patient Careteam ทีมสหสาขาวิชาชีพเข้มแข็ง Strong Leadership ภาวะผู้นำ

งานที่ประเมินทั้งหมด อยู่ระหว่างดำเนินการ จังหวัด ชื่อโรงพยาบาล งานที่ประเมินทั้งหมด งานผ่านระดับ 3 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ70 งานที่ไม่ผ่านระดับ 3 จำนวน ร้อยละ ประจวบคีรีขันธ์   หัวหิน ๑๑ ๑๐ ๙๐.๙๐ / Csg ปราณบุรี ๘ ๑๐๐ - สามร้อยยอด ๙ ๘๘.๘๙ ER กุยบุรี ทับสะแก ๙๐.๐๐ ANC บางสะพาน บางสะพานน้อย ภาพรวม เพชรบุรี พระจอมเกล้าฯ เขาย้อย หนองหญ้าปล้อง ชะอำ ท่ายาง บ้านลาด บ้านแหลม ๘๐ IC แก่งกระจาน ๙๐ OPD,IC สมุทรสคร รพ.สมุทรสาคร ไม่ประเมินCsg รพ.กระทุ่มแบน รพ.บ้านแพ้ว อยู่ระหว่างดำเนินการ ๓ ๒ ๖๖.๖๗ สมุทรสงคราม สมเด็จฯ ๙๐.๙๑ นภาภัย ๕ ๕๕.๕๖ X ER,IC,LR,Csg อัมพวา 3 2 ภาพรวม เขต ๔ ๕๐ QA Evaluation 2012_1

QA Evaluation 2012_1 รหัสและตัวชี้วัด เกณฑ์ จังหวัด การดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน อัตรา การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลระดับ ๓ ร้อยละ ๗๐ ๑.ประจวบคีรีขันธ์ ๘ ๑๐๐ ๒.เพชรบุรี ๓.สมุทรสงคราม ๓ ๒ ๖๖.๖๗ ๔.สมุทรสาคร ๔ ๗๕ รวมเขต..........

มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 ปี 2550 11/6/2019 Pchutha

มาตรฐานการพยาบาลระดับองค์กรพยาบาล 11/6/2019 Pchutha

11/6/2019 Pchutha

11/6/2019 Pchutha

11/6/2019 Pchutha

11/6/2019 Pchutha

11/6/2019 Pchutha

11/6/2019 Pchutha

11/6/2019 Pchutha

มาตรฐานการพยาบาลระดับองค์กรพยาบาล 11/6/2019 Pchutha

กระบวนการพยาบาล : ผลลัพธ์ทางการพยาบาล กระบวนการพยาบาล : ผลลัพธ์ทางการพยาบาล หมวดกระบวนการ (หมวด 1 – หมวด 6) หมวดผลลัพธ์ (หมวด 7) 1. การนำองค์กร 7.6 ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 7.3 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิภาพ 3. การมุ่งเน้นผู้ใช้บริการ 7.2 ผลลัพธ์ด้านผู้ใช้บริการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 7.5 ผลลัพธ์ด้านระบบงานและกระบวนการสำคัญ 5. การมุ่งเน้นบุคลากร 7.4 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 6. การจัดการกระบวนการให้บริการพยาบาล 7.1 ผลลัพธ์ด้านการให้บริการพยาบาล 11/6/2019 Pchutha เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินคุณภาพการพยาบาลภายนอกเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ ชุติกาญจน์ หฤทัย สำนักการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

NSO 32 160 28 4 OPD 26 130 13 9 ER 25 125 8 IPD 140 11 ICU ANC LR OR No Unit จำนวนข้อ คะแนนรวม บริหาร บริการ ผลลัพธ์ 1 NSO 32 160 28   4 2 OPD 26 130 13 9 3 ER 25 125 8 IPD 140 11 5 ICU 6 ANC 7 LR OR Anes 10 Csg IC 11/6/2019 Pchutha

มิติ / ปัจจัยที่ใช้ในการประเมิน กระบวนการ (8 มาตรฐาน) ผลลัพธ์ (4 มิติ) แนวทาง/วิธีการดำเนินการที่เป็นระบบ กำหนด/ทำซ้ำได้/วัดได้/คาดการณ์ ระดับของผลการดำเนินงาน A Le อัตรา/แนวโน้มในการเปลี่ยนแปลง T การนำแนวทาง/วิธีการไปปฏิบัติ D การเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน C แนวทางในการทบทวน/ปรับปรุง L ความเชื่อมโยงของตัววัดผล Li ความครอบคลุม/ทั่วถึง I 11/6/2019 Pchutha

องค์ประกอบของการประเมิน Approach Definition: วิธีการหรือกระบวนการที่ใช้ เพื่อตอบสนองความต้องการของเกณฑ์ - อย่างเป็นระบบ และสนับสนุนด้วยข้อเท็จจริง - เหมาะสมกับรายละเอียดของข้อที่ระบุไว้ในเกณฑ์ Explain difference between systematic process and ad hoc process Point out that sometimes less mature organizations answer the question “how” by answering “who” = This is an OFI 11/6/2019 Pchutha

องค์ประกอบของการประเมิน Deployment Definition: ขอบข่ายของการนำวิธีการไปปฏิบัติเพื่อให้ ข้อกำหนดสัมฤทธิผล ได้ถูกนำไปใช้ทุกแผนกงาน ทุกส่วน ทุกสถานที่ตั้ง หรือทุกบุคคล ตามเหมาะสม อย่างสม่ำเสมอ สัมพันธ์กับโครงร่างองค์กรที่ระบุไว้ Point out examples of deployment gaps in shifts, locations, customers, employees 11/6/2019 Pchutha

องค์ประกอบของการประเมิน Learning Definition: ความรู้และทักษะใหม่ที่ได้มาจากการประเมิน การเรียนรู้ ประสบการณ์ และนวัตกรรม ผ่านกระบวนการประเมินและปรับปรุงงานของบุคคล การปรับปรุงอย่างพลิกผันจากนวัตกรรม การแบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้และเรื่องดีๆให้ส่วนอื่นๆทั่วทั้งองค์กร Briefly explain. 11/6/2019 Pchutha

องค์ประกอบของการประเมิน Integration Definition: ความกลมกลืนกันของทุกส่วนงานตั้งแต่การ วางแผน สารสนเทศ กระบวนการทำงาน การใช้ทรัพยากร การ ตัดสินใจ ผลลัพธ์และการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนเป้าหมายหลัก ขององค์กร ความสอดรับของวิธีการที่ใช้กับความต้องการขององค์กร ระบบการวัดผล สารสนเทศ และการปรับปรุงต้องเกื้อหนุนกันในทุกกระบวนการและในทุก หน่วยงาน Examples: customer requirements  measures  strategic plans  training & recruitment ..> and to processes improved 11/6/2019 Pchutha

การประเมินโดย ADLI 11/6/2019 Pchutha

11/6/2019 Pchutha

การให้คะแนน คะแนน ระดับการพัฒนา No Evidence 1 Beginning 2 No Evidence 1 Beginning 2 Basically Effectiveness 3 Mature 4 Advance 5 Role Model 11/6/2019 Pchutha

ค่าคะแนน 3 (Mature) A = แนวทาง : เป้าหมาย/ตัววัด/การประเมิน D = แนวทาง : ถ่ายทอด L = ทบทวน/ปรับปรุง : การประเมินผล I = ระบบสอดคล้องทางเดียวกัน : ตอบสนองเป้าประสงค์ (No Evidence) ไม่มี แนวทาง ไม่มีการนำแนวทาง A สู่การปฏิบัติ ไม่มีการนำแนวทาง A มาทบทวน(CQI) แนวทาง A ไม่มีความสอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง 1 (Beginning) มี A เป็น ส่วนน้อย เริ่มนำแนวทาง A สู่การปฏิบัติบางขั้นตอน นำแนวทาง A มาทบทวนเป็นระยะๆแต่ไม่ต่อเนื่อง มีความสอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวังบางส่วน 2 (Basically Eff.) ส่วนใหญ่ พยาบาลบางคนนำแนวทาง A สู่การปฏิบัติครบถ้วนทุกขั้นตอน นำแนวทาง A มาทบทวนอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง มีความสอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวังส่วนใหญ่ 3 (Mature) มี A ครบถ้วนตามมาตรฐาน พยาบาลทุกคนนำแนวทาง A สู่การปฏิบัติครบถ้วนทุกขั้นตอน ทบทวนอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภายใน ER มีความสอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวังอย่างครบถ้วน 4 (Advance) มี A > มาตรฐานกำหนด มีหน่วยงานอื่นๆในรพ.นำแนวทาง A ไปใช้ ทบทวนอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานอื่นๆใน รพ. มีความสอดคล้องกับแนวปฏิบัติของสหสาขา 5 (Role Model) และมีความเป็นเลิศ มีหน่วยงานอื่นๆนอก รพ.นำแนวทาง A ไปใช้ ทบทวนอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และสร้างนวตกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภายนอก รพ. มีความสอดคล้องกับแนวปฏิบัติของสหสาขาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 11/6/2019 Pchutha

ตัวอย่างวิธีการตีความ : แบบประเมินงานผู้ป่วยนอก ข้อ 11. สภาพแวดล้อมในการทำงาน (ม.11 ความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากรพยาบาล) A D L I กำหนดสภาพแวดล้อมการทำงานของหน่วยบริการพยาบาล อย่างน้อย 5 ประเด็น 1) การกำหนดระบบการดูแลสุขภาพบุคลากรทางการพยาบาลทั้งในการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงและสุขภาวะ 2) การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการทำงาน 3) การกำหนดระบบการวัดและประเมินผลสภาพแวดล้อม บรรยากาศ และความปลอดภัยในการทำงานและบันทึกโดยการมีส่วมร่วมของบุคลากรทางการพยาบาล 4) มาตรการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 5) การกำหนดวิธีการเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน/ภัยภิบัติ ปฏิบัติตามแผน/แนวทางครอบคลุมประเด็นสำคัญที่กำหนด 1) อธิบายสื่อความเข้าใจให้ผู้เกี่ยวข้อง 2) มอบหมายให้บุคลากรที่รับผิดชอบดำเนินการตามแนวทางที่กำหนด 3) ปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดไว้ครบทุกขั้นตอน ประเมินผลและทบทวนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ ดังนี้ 1) การติดตามประเมินผลตามแผนการประเมินที่กำหนด 2) การเปรียบเทียบค่าเป้าหมายครบตามตัวชี้วัดที่กำหนด 3) การนำผลที่ได้ไปสู่การปรับปรุงแนวทางดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง แนวทางฯมีความสอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง 11/6/2019 Pchutha

ตัวอย่างวิธีการตีความ : แบบประเมินงานผู้ป่วยนอก ข้อ 11. สภาพแวดล้อมในการทำงาน จากการประเมินพบว่า A D L I กำหนดสภาพแวดล้อมการทำงานของหน่วยบริการพยาบาล อย่างน้อย 5 ประเด็น 1) การกำหนดระบบการดูแลสุขภาพบุคลากรทางการพยาบาลทั้งในการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงและสุขภาวะ 2) การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการทำงาน 3) การกำหนดระบบการวัดและประเมินผลสภาพแวดล้อม บรรยากาศ และความปลอดภัยในการทำงานและบันทึกโดยการมีส่วมร่วมของบุคลากรทางการพยาบาล 4) มาตรการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 5) การกำหนดวิธีการเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน/ภัยภิบัติ ปฏิบัติตามแผน/แนวทางครอบคลุมประเด็นสำคัญที่กำหนด 1) อธิบายสื่อความเข้าใจให้ผู้เกี่ยวข้อง 2) มอบหมายให้บุคลากรที่รับผิดชอบดำเนินการตามแนวทางที่กำหนด 3) ปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดไว้ครบทุกขั้นตอน ประเมินผลและทบทวนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ ดังนี้ 1) การติดตามประเมินผลตามแผนการประเมินที่กำหนด 2) การเปรียบเทียบค่าเป้าหมายครบตามตัวชี้วัดที่กำหนด 3) การนำผลที่ได้ไปสู่การปรับปรุงแนวทางดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง แนวทางฯมีความสอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวังครบทั้ง 3 ประเด็น 11/6/2019 Pchutha

ตัวอย่างวิธีการตีความ : แบบประเมินงานผู้ป่วยนอก (ต่อ) ข้อ 11. สภาพแวดล้อมในการทำงาน ผลการประเมินได้ A D L I ผลการประเมินได้ 2 เพราะ ไม่มีแนวทางในข้อดังนี้ 4) มาตรการด้าน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 5) การกำหนดวิธีการเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน/ภัยพิบัติ ผลการประเมินได้ 2 เพราะ ถึงแม้จะนำสู่การปฏิบัติครบทั้ง 3 ขั้นตอน (D) ใน 3 แนวทาง (A) แต่ เรายังมีแนวทาง(A) ไม่ครบตามมาตรฐานกำหนด (เนื่องจาก มาตรฐานกำหนดให้มีแนวทาง 5 ประเด็น แต่ทำได้แค่ 3 ประเด็น) จึงไม่มีทางได้นำสู่การปฏิบัติครบตามที่มาตรฐานกำหนด (มาตรฐานกำหนดให้ทำDครบ 3 ขั้นตอนในทุกประเด็น) ผลการประเมินได้ 0 เพราะ ไม่มีแนวทางใดเลยที่เรียนรู้ (L) ครบ 3 ขั้นตอน A มีแค่ 3 ประเด็น ไม่ครบตามมาตรฐานกำหนด (เหตุผลเหมือนข้อ D) 11/6/2019 Pchutha

การประเมินด้วย LeTCLi 11/6/2019 Pchutha

การประเมินหมวดผลลัพธ์ (LeTCLi) ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับองค์กรที่มีภารกิจคล้ายคลึงหรือเทียบเคียงได้ มีการเชื่อมโยงกับตัวชี้วัดผลต่าง ๆ กับเกณฑ์หมวดต่าง ๆ แนวโน้มผลการดำเนินงาน(อย่างน้อย 3 ปี) ผลการดำเนินงานในปัจจุบันเทียบกับเป้าหมาย Level Trend Comparison Linkage 11/6/2019

11/6/2019

การให้คะแนน “ส่วนผลลัพธ์” (Le,T,C,Li) ค่าคะแนน : Le=ผลการดำเนินงาน T=การปรับปรุง/เปลี่ยนแปลง C=ผลลัพธ์/ระดับเทียบเคียง Li=เชื่อมโยงเป้าหมาย 0 No Evidence ไม่มี 1 Beginning (1-20 %) บรรลุเป้าหมายที่กำหนด :บางส่วน มีแนวโน้มดีขึ้นบางส่วน มีการเปรียบเทียบอยู่ในระดับแนวหน้าของกลุ่มที่ทำ บางส่วน มีการแสดงค่าของตัวชี้วัดบางส่วน 2 Basically Effectiveness (21-40 %) ส่วนน้อย 3 Mature (41-60 %) ครึ่งหนึ่ง เกือบครึ่ง 4 Advanced (61-80 %) ส่วนใหญ่ 5 Roll Model (81-100 %) เกือบทั้งหมด 11/6/2019

ตัวอย่างวิธีการตีความ : แบบประเมินงานผู้ป่วยนอก ข้อ 25. ด้านคุณภาพการให้บริการ Le T C Li กำหนดเป้าหมายของตัวชี้วัดอย่างน้อย 4 ประเด็น ต่อไปนี้ 1) ร้อยละของผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่อง 2) ร้อยละของผู้ใช้บริการที่กลับมาตรวจรักษาพยาบาลก่อนกำหนดวันนัดด้วยโรคเดิมจากการปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง 3) การร้องเรียนของผู้ใช้บริการ 4) ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ/ครอบครัว/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อบริการพยาบาล ผลลัพธ์ของตัวชี้วัดด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาลอย่างน้อย 3 ปีย้อนหลังมีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีข้อมูลเปรียบเทียบที่เชื่อถือได้ มีหลักฐานของผลลัพธ์ (มีการแสดงค่าของตัวชี้วัด) 11/6/2019 Pchutha

ตัวอย่างวิธีการตีความ : แบบประเมินงานผู้ป่วยนอก (ต่อ) ข้อ 25. ด้านคุณภาพการให้บริการ การประเมินพบว่า Le T C Li กำหนดเป้าหมายของตัวชี้วัดอย่างน้อย 2 ประเด็น ต่อไปนี้ 1) ร้อยละของผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่อง 2) ร้อยละของผู้ใช้บริการที่กลับมาตรวจรักษาพยาบาลก่อนกำหนดวันนัดด้วยโรคเดิมจากการปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง 3) การร้องเรียนของผู้ใช้บริการ 4) ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ/ครอบครัว/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อบริการพยาบาล ผลลัพธ์ของตัวชี้วัด พบว่า 3ตัวมีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง 3 ปีย้อนหลัง มีข้อมูลตัวชี้วัดพบว่า 2ตัวที่มีผลลัพธ์ดีกว่าค่าเปรียบเทียบ ผลลัพธ์ของตัวชี้วัดพบว่า มีการแสดงค่าของตัวชี้วัด 4ตัว 11/6/2019 Pchutha

ตัวอย่างวิธีการตีความ : แบบประเมินงานผู้ป่วยนอก (ต่อ) ข้อ 25. ด้านคุณภาพการให้บริการ ผลการประเมินที่ได้ Le T C Li ผลการประเมินได้ 3 เพราะไม่มีรายงานผลตัวชี้วัดคุณภาพใน 2 ข้อแต่มีผลตัวชี้วัดครึ่งหนึ่ง (2 ใน 4)ดังนี้ 1) ร้อยละของผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่อง 2) ร้อยละของผู้ใช้บริการที่กลับมาตรวจรักษาพยาบาลก่อนกำหนดวันนัดด้วยโรคเดิมจากการปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง ผลการประเมินได้ 4 เพราะมีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ใน 3 ตัวชี้วัด (3ใน 4) ผลการประเมินได้ 3 เพราะ มีข้อมูลเปรียบเทียบที่เชื่อถือได้ใน 2 ตัวชี้วัด (2 ใน 4) ผลการประเมินได้ 5 เพราะ มีการรายงานผลทั้ง 4 ตัวชี้วัด (4ใน4) 11/6/2019 Pchutha

การคิดคะแนน 11/6/2019 Pchutha

สรุป A+D+L+I < A 4 Le+T+C+Li < Le 4 11/6/2019 Pchutha

ขั้นตอนที่ 1 การพิจารณาให้คะแนน การให้คะแนนมิติกระบวนการ เริ่มที่ A ก่อนเป็นอันดับแรก คะแนน A = 0 ไม่ต้องประเมิน D , L , I ต่อ หาก A = 1 คะแนนขึ้นไปให้ประเมิน D , L , I ต่อจนครบทุกรายการ การให้คะแนนมิติผลลัพธ์ เริ่มที่ Le ก่อนเป็นอันดับแรก คะแนน Le = 0 ไม่ต้องประเมิน T , C , Li ต่อ หาก Le = 1 คะแนนขึ้นไป ให้ประเมิน T , C , Li ต่อจนครบทุก รายการ 11/6/2019 Pchutha

ตัวอย่างการคำนวณคะแนน : มิติกระบวนการ กรณีที่ 1 สมมติคะแนน A = 3 , D = 2 , L = 1 , I = 1 ค่าคะแนน = 3+2+1+1 = 1.7 ปัดเป็น 2 4 คะแนนข้อนี้ได้ = 2 เพราะไม่มากกว่า A 11/6/2019 Pchutha

ตัวอย่างการคำนวณคะแนน : มิติกระบวนการ กรณีที่ 1 สมมติคะแนน A = 3 , D = 5 , L = 3 , I = 5 ค่าคะแนน = 3+5+3+5 = 4 4 คะแนนข้อนี้ได้ = 3 เพราะมากกว่า A ให้ใช้ คะแนน A 11/6/2019 Pchutha

ตัวอย่างการคำนวณคะแนน : มิติผลลัพธ์ กรณีที่ 1 สมมติคะแนน Le = 4 , T = 4 , C = 2 , Li = 2 ค่าคะแนน = 4+4+2+2 = 3 4 คะแนนข้อนี้ได้ = 3 เพราะไม่มากกว่า Le 11/6/2019 Pchutha

ตัวอย่างการคำนวณคะแนน : มิติผลลัพธ์ กรณีที่ 2 สมมติคะแนน Le = 2 , T = 4 , C = 3 , Li = 4 ค่าคะแนน = 2+4+3+4 = 3.2 ปัดเป็น 3 4 คะแนนข้อนี้ได้ = 2 เพราะมากกว่า Le ให้ใช้ คะแนน Le 11/6/2019 Pchutha

Thank You chutharatt9@gmail.com 11/6/2019 Pchutha