งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนกำลังคนหน่วยบริการในระดับตติยภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนกำลังคนหน่วยบริการในระดับตติยภูมิ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนกำลังคนหน่วยบริการในระดับตติยภูมิ
คณะทำงาน: น.พ.วีระพันธ์ สุพรรณไชยมาตย์ น.พ. ชาญชัย จันทร์วรชัยกุล น.พ. วีระศักดิ์ อนุตรอังกูร ภญ.ดร.เบญจพร ศิลารักษ์ น.ส.ยุพา พรอมรธรรม น.พ. อดุลย์ บำรุง ภญ.ดร.ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล รองประธาน สสส ประธาน ผอ.รพ.ขอนแก่น คณะทำงาน ผอ.รพ.มหาสารคาม คณะทำงาน เภสัชกร รพ.ขอนแก่น คณะทำงาน พยาบาลวิชาชีพ คณะทำงาน ผอ.รพ.ซำสูง เลขานุการ สนย./กรมควบคุมโรค ผู้ช่วยเลขานุการ วันที่ 1-2 มีนาคม ณ ห้องประชุมเบญจกิตติ ไอบิส กรุงเทพ ริเวอร์ไซต์

2 กรอบการนำเสนอ 1. หลักคิดและสมมติฐานสำหรบพื้นฐานในการคาดการณ์
- คำอธิบายข้อมูลภาระงาน - Unmet need - สัดส่วนการไปรับบริการสุขภาพ 2. ผลการคำนวณคาดการณ์จำนวนบุคคลากรในสถาณการณ์ปัจจุบัน

3 กลุ่มโรงพยาบาลที่มีความสามารถสูง
ความหมาย/ส่วนประกอบ กลุ่มโรงพยาบาลที่มีความสามารถสูง โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก (Middle level Hospital)  เป็นโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถรองรับผู้ป่วยที่ต้องการ   การรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อนระดับเชี่ยวชาญประกอบด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาหลักทุกสาขาและสาขารองในบางสาขาที่จำเป็น (ระดับ M1) โรงพยาบาลทั่วไป  (Standard – level  Hospital) เป็นโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถรองรับผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อนระดับเชี่ยวชาญเฉพาะ จึงประกอบด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทั้งสาขาหลัก สาขารอง และสาขาย่อยบางสาขา (ระดับ S) โรงพยาบาลศูนย์ (Advance – level Hospital)   เป็นโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถรองรับผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อนระดับเชี่ยวชาญและเทคโนโลยีขั้นสูงและมีราคาแพง (Advance & sophisticate technology) มีภารกิจด้านแพทยศาสตร์ศึกษาและงานวิจัยทางการแพทย์ จึงประกอบด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทั้งสาขาหลัก สาขารอง และสาขาย่อยครบทุกสาขาตามความจำเป็น  (ระดับ A) ไม่รวม รพ.มหาวิทยาลัย

4 จำนวนสถานบริการขนาดต่างๆ

5 บริการในตติยภูมิ รักษา ส่งเสริม ส่งเสริมการออกกำลังกาย
OPD IPD Operation – Major, Minor ,Labour ,Special Investigation & Procedure ส่งเสริม ส่งเสริมการออกกำลังกาย ส่งเสริมการฝึกสมาธิ ป้องกัน การป้องกันอุบัติเหตุ ป้องกันไข้เลือดออก โรคติดต่อต่างๆ ฟิ้นฟู กายภาพบำบัด แพทย์แผนไทย

6 การคำนวณความต้องการกำลังคน
แพทย์, พยาบาล, เภสัชกร จำนวนผู้ป่วย, หัตถการที่จำเป็น ทันตแพทย์ ทั่วไป, เฉพาะทาง, ผป.ใน เทคนิคการแพทย์ เคมี, โลหิต, จุลชีวะ, ฯลฯ นักกายภาพบำบัด กายภาพ musculo, nuero, cardio, mis แพทย์แผนไทย วินิจฉัย, หัตถการ

7 EXCLUDE จพ.เวชกิจฉุกเฉิน จพ.โสตฯ/ นวก.โสตฯ ช่างภาพการแพทย์
นวก.เวชสถิติ/จพ.เวชสถิติ นักวิทย์/จพ.วิทย์ (พยาธิ) นักวิทย์/จพ.วิทย์ (เซลวิทยา) นักรังสีการแพทย์ (รังสีรักษา) นักรังสี เวชศาสตร์นิวเคลียร์ นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก นวก.สธ./จพ.สธ. นักกำหนดอาหาร /นักโภชนาการ/โภชนากร นักกายอุปกรณ์ ช่างกายอุปกรณ์ นักกิจกรรมบำบัด นักจิตวิทยาคลินิก / นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักเวชศาสตร์สื่อความหมาย

8 วิธีคาดการณ์ Supply projection เช่น Demand projection เช่น
การดูกำลังการผลิตบุคลากรของสถาบันต่างๆ ลบด้วยจำนวนบุคลากรที่ออกจากระบบในแต่ละปี Demand projection เช่น Population-health worker ratio Health need or health demand method Economic model method Service target method การศึกษาที่ผ่านมามักใช้ Supply projection หรือ Population-health worker ratio ซึ่งมีข้อจำกัดในการทราบถึงภาระงานที่แท้จริง

9 วิธีคาดการณ์ที่ใช้ Health Demand Method

10 หลักคิดพื้นฐาน จำนวนบุคลากรที่ต้องการต่อปี = ผลคูณระหว่างสองส่วน ได้แก่ จำนวนภาระงาน เช่น ปริมาณบริการผู้ป่วยนอก , บริการผู้ป่วยใน, และ บริการเฉพาะ เช่น หัตถการคลอด หัตถการผ่าตัด (หน่วย cases) ปริมาณ คน*เวลาที่ต้องใช้ในการให้การบริการต่อภาระงานหนึ่งๆ (หน่วย man * hours/case) แล้วหารด้วยจำนวนชั่วโมงทำงานต่อปี (หน่วย 1,680 hours/year) ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงในรูป จำนวนคนที่ต้องการในหนึ่งปี (man*year)

11 ข้อมูลพื้นฐานการคำนวณ
ใช้ข้อมูลการรับบริการของกระทรวงสาธารณสุขในปี 2556 2) ข้อมูลสำรวจด้านสุขภาพจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ (Health welfare survey : HWS) จากข้อมูล HWS สัดส่วนการไปรับบริการสุขภาพผู้ป่วยนอก เป็นดังนี้ สถานพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข % ของทั้งหมด สถานพยาบาลเอกชน % ของทั้งหมด สถานพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย % ของทั้งหมด สถานพยาบาลอื่นๆ % ของทั้งหมด ทำให้ทราบจำนวนผู้ป่วยนอกรวม และ จำนวนวันนอนรวมของผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

12 ข้อมูลพื้นฐานการคำนวณ (ต่อ)
ทำให้ทราบการกระจายของจำนวนผู้ป่วยตามสถานพยาบาลประเภทต่างๆ เมื่อนำมาคำนวณกับข้อมูลปริมาณการใช้บริการผู้ป่วยในข้อที่ 1 ก็จะทำให้ทราบถึง ‘ปริมาณ’การใช้บริการของผู้ป่วยแจกแจงตามสถานพยาบาลต่างๆ ใช้ข้อมูลการรับบริการของกระทรวงสาธารณสุขในปี 2556 2) ข้อมูลสำรวจด้านสุขภาพจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ (Health welfare survey : HWS) จากข้อมูล HWS สัดส่วนการไปรับบริการสุขภาพผู้ป่วยนอก เป็นดังนี้ สถานพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข % ของทั้งหมด สถานพยาบาลเอกชน % ของทั้งหมด สถานพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย % ของทั้งหมด สถานพยาบาลอื่นๆ % ของทั้งหมด

13 ข้อมูลพื้นฐานการคำนวณ (ต่อ)
ข้อมูลพื้นฐานการคำนวณ (ต่อ) สัดส่วนการไปรับบริการสุขภาพผู้ป่วยนอก ของ สธ. Health center % District Hospital % Province Hospital % Tertiary ?

14 ข้อมูลพื้นฐานการคำนวณ (ต่อ)
ข้อมูลพื้นฐานการคำนวณ (ต่อ) สัดส่วนการไปรับบริการสุขภาพผู้ป่วยใน District Hospital % Province Hospital % Private Hospital % Other Public % การเข้าไม่ถึงบริการ (Unmet Need) : ผู้ป่วยนอก 1.5% ของผู้ป่วยทั้งหมด ผู้ป่วยใน 0.14% ของผู้ป่วยทั้งหมด Tertiary ?

15 ตัวอย่างการคำนวณ จำนวนผู้ป่วยนอกรวมสังกัด สธ.ต่อปี = 47,000,000 visits
สัดส่วนผู้ป่วยนอกสังกัด สธ. = 69% สัดส่วนผู้ป่วยนอก รพ รัฐ สังกัดนอก สธ. = 8% สัดส่วนผู้ป่วยนอก รพ เอกชน = 23% ดังนั้น จำนวนผู้ป่วยนอกสังกัดนอก สธ. = (47,000,000 x 8%)/69% = 5,400,000 จำนวนผู้ป่วยนอกของ รพ เอกชน = (47,000,000 x 23%)/69% = 15,700,000 ดังนั้นจำนวนผู้ป่วยนอกรวมทุกสังกัด = 47,000, ,400, ,700,000 ~ 68,000,000 เมื่อรวมกับ unmet need ประมาณ 1.5% จะได้ปริมาณ unmet need = 1,000,000 รวมผู้ป่วยนอกที่รวม unmet need ด้วย = 68,000, ,000,000 = 69,000,000 visits/year แพทย์หนึ่งคนใชเวลา 0.12 hours/case ดังนั้นทั้งปี ต้องใช้เวลา = 0.12 * 69,000,000 = 8,200,000 hours แต่แพทย์หนึ่งคนทำงาน 1680 hours สรุป ต้องการแพทย์สำหรับการบริการผู้ป่วยนอก = 8,200,000 / 1,680 = 4,900 คน

16 การคำนวณความต้องการแพทย์ 15,278
x x /1680 = งาน Physician No Productivity hours/case Workload calculation FTE calculation จำนวนผู้ป่วยนอกรวม 1 0.12 ( 7.2 นาที) A 4,915 จำนวนวันนอนรวมผู้ป่วยใน (IPD.) ทั้งหมด 0.33 (19.8 นาที) B 4,510 Major operation 1.5 2.5 C 3,294 คลอดปกติ 0.25 (15นาที) D 40 คลอดผิดปกติ (F/E,V/E,Breech ฯลฯ) E 70 ER F 741 ICU need day G 1,550 US H 158

17 การคำนวณความต้องการพยาบาล 88,322
x x /1680 = งาน Physician No Productivity hours/case Workload calculation FTE calculation จำนวนผู้ป่วยนอกรวม 1 0.2 ( 12 นาที) A 8,192 จำนวนวันนอนรวมผู้ป่วยใน (IPD.) ทั้งหมด 3.5 B 47,838 Major operation 2.5 4 C 8,783 คลอดปกติ 2 7 D 2,217 คลอดผิดปกติ (F/E,V/E,Breech ฯลฯ) E 282 ER 0.6 (36นาที) F 1,778 ICU need day 12 G 18,602 US H 631

18 การคำนวณความต้องการเภสัชกร 4,212
x x /1680 = งาน Physician No Productivity hours/case Workload calculation FTE calculation จำนวนผู้ป่วยนอกรวม 1 0.08 (4.8 นาที) A 2,389 จำนวนวันนอนรวมผู้ป่วยใน (IPD.) ทั้งหมด B 1,822

19 การคำนวณความต้องการทันตแพทย์ 2,123
x x /1680 =2,123 งาน Physician No Productivity hours/case Workload calculation FTE ทันตกรรมทั่วไป (ราย) 1 0.467 (28 นาที) A 1,348 ทันตกรรมเฉพาะทาง (ชิ้นงาน) 2 B 750 ทันตกรรมผู้ป่วยใน (ราย) 3 C 25

20 การคำนวณความต้องการนักเทคนิคการแพทย์ 6,732
x x /1680 = งาน Physician No Productivity hours/case Workload calculation FTE calculation เก็บตัวอย่าง 1 0.02 (1.2 นาที) A 102 โลหิตวิทยา 0.15 (9 นาที) B 1,685 จุลทรรศน์ 0.17 (10.2นาที) C 804 เคมีคลินิก 0.03 (1.8นาที) D 1,552 ภูมิคุ้มกัน 0.10 ( 6นาที) E 510 จุลชีววิทยา 0.33 (19.8นาที) F 1,310 อณูชีวโมเลกุล 0.18 (10.8นาที) G 60 รับบริจาคเลือด (ยูนิต) H 214 เตรียมเลือดให้ผป.(ยูนิต) I 495

21 การคำนวณความต้องการนักกายภาพบำบัด 1,713
x x /1680 = งาน Physician No Productivity hours/case Workload calculation FTE กายภาพ Muscu 1 0.75 (45 นาที) A 1,045 กายภาพ Neuro 0.83 (50 นาที) B 369 กายภาพ Cardio 0.67 (40 นาที) C 226 กายภาพ Mis 0.5 (30 นาที) D 73

22 การคำนวณความต้องการแพทย์แผนไทย 1,135
x x /1680 = งาน Physician No Productivity hours/case Workload calculation FTE ตรวจวินิจฉัย 1 0.25(15 นาที) A 597 หัตถการ 0.75(45 นาที) B 537

23 สรุปกำลังคนที่ต้องการ
บุคลากร จำนวนคน แพทย์ 15,278 พยาบาล 88,322 เภสัชกร 4,212 ทันตแพทย์ 7,199 เทคนิคการแพทย์ 6,732 นักกายภาพบำบัด 1,713 แพทย์แผนไทย 1,135 รวม 124,591

24 ข้อจำกัดการศึกษา รวมถึงปัญหาอุปสรรค (Limitations and challenges)
ขาดข้อมูลของโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย ซึ่งอาจต้องมีวิธีคำนวณภาระงานต่างออกไป เนื่องจากรวมเรื่องภาระเรื่องการเรียนการสอนด้วย ภาระงานของแพทย์ที่ทำหน้าที่ด้านบริหาร และศึกษาวิจัย ไม่ได้นำมาคำนวณ ภาระงานเรื่องการลงพ้นที่ ออกชุมชน ยังไม่ได้นำมารวมในการศึกษานี้ ยังขาดข้อมูลของวิชาชีพอื่นๆ เช่น เจ้าหน้าที่เวชกิจ ขอบเขตของการบริการมีความซ้ำซ้อนกัน เช่น การทำ US ก็สามารถรวมเข้าไปกับการบริการผู้ป่วยนอกได้ จึงอาจต้องกำหนด definition ให้ชัดเจน ข้อมูลที่เป็นพื้นฐานการคำนวณมาจากสองแหล่ง ซึ่งการใช้ข้อมูลมากกว่าแหล่งเดียว มักมี uncertainty ของการคำนวณสูงขึ้น การคำนวณไม่ได้แยกผู้ป่วยต่างชาติ เพราะใช้สมมติฐานที่ว่าผู้ป่วยต่างชาติมารับบริการในสัดส่วนแบบเดียวกับผู้ป่วยสัญชาติไทย (ทั้งนี้ข้อมูลการบริการของกระทรวง สธ. ก็รวมการใช้บริการผู้ป่วยต่างชาติอยู่แล้ว)

25


ดาวน์โหลด ppt แผนกำลังคนหน่วยบริการในระดับตติยภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google