บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม การแทนกราฟ.
งานนำเสนอ ชนิดของบทเรียนสำเร็จรูป โดย นางสาวอภิรดี ศรีจันทะ รหัส กศ. บ
Relation and function - Good morning students. - How are you today?
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ทรงกระบอก.
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การทำ Normalization 14/11/61.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
พื้นที่ผิวของพีระมิด
ความเค้นและความเครียด
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2. วงกลม กรวยเป็นรูปทรงเรขาคณิต
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ.
ความดัน (Pressure).
ความเข้มข้นของสารละลาย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
เศษส่วนและทศนิยม.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
Class Diagram.
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
สื่อประกอบการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

รูปใดบ้างเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก รูปใดบ้างเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 3 1 2 4 5 6

A C B ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านประกอบมุมฉาก ด้านประกอบมุมฉาก บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก A ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านประกอบมุมฉาก C B ด้านประกอบมุมฉาก

A c b C a B กิจกรรม เชื่อมความสัมพันธ์ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก กิจกรรม เชื่อมความสัมพันธ์ คำสั่ง : กำหนดให้รูปสามเหลี่ยม ABC ต่อไปนี้มีด้านตรงข้ามมุม A ยาว a เซนติเมตร ด้านตรงข้ามมุม B ยาว b เซนติเมตร และด้านตรงข้ามมุม C ยาว c เซนติเมตร A c b จงวัดความยาวของด้านตรงข้ามมุม C เติมค่า c และค่าอื่นๆ ลงในตารางให้ สมบูรณ์ พร้อมตอบคำถาม C a B

ข้อที่ a b c a2 b2 c2 a2 + b2 c2 = a2 + b2 หรือไม่ ( = หรือ ≠ ) 1 2 5 บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ข้อที่ a b c a2 b2 c2 a2 + b2 c2 = a2 + b2 หรือไม่ ( = หรือ ≠ ) 1 3 4   2 6 8 1.2 1.6 0.9 5 2.5  5  9  16  25  25  =  10  36  64  100  100  = 2 1.44 2.56 4 4 =  1.5  1.44  0.81  2.25  2.25  = 3.6 9 4 12.96 13 ≠  3.2  4 6.25  10.24 10.25 ≠

1. 2. 3. รูปสามเหลี่ยม ABC ในข้อใดบ้าง ที่เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 1. รูปสามเหลี่ยม ABC ในข้อใดบ้าง ที่เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ข้อ 1, 2, 3 และ 4 ......................................................................................................................... 2. รูปสามเหลี่ยม ABC ในข้อใดบ้าง ที่ไม่เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ข้อ 5 และ 6 ......................................................................................................................... 3. จากกิจกรรมข้างต้น นักเรียนสามารถบอกได้หรือไม่ว่าด้านทั้งสามของ รูปสามเหลี่ยมมุมฉากมีความสัมพันธ์กันอย่างไร เมื่อ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก c2 = a2 + b2 ......................................................................................................................... โดยที่ c แทน ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก a และ b แทน ความยาวของด้านประกอบมุมฉาก ......................................................................................................................... .........................................................................................................................

A c b C a B ผลที่ได้ในกิจกรรมข้างต้น บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ผลที่ได้ในกิจกรรมข้างต้น เมื่อกำหนดให้ สามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีมุม ACB เป็นมุมฉาก ดังรูป A c แทน ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก a และ b แทน ความยาวของด้านประกอบมุมฉาก c b จะได้ c2 = a2 + b2 C a B

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากข้างต้น กล่าวได้ว่า A สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก c b c2 = a2 + b2 C a B ซึ่งเรียกว่า ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และเชื่อกันว่านักคณิตศาสตร์ชาวกรีกที่ชื่อพีทาโกรัสเป็นผู้พิสูจน์ได้เป็นคนแรก

c × c = c2 b × b = b2 c2 b2 a2 a × a = a2 c2 = a2 + b2 A C B b c a บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก c × c = c2 b × b = b2 A c2 b2 b   c   c2 = a2 + b2 a   C B a2 a × a = a2

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ตัวอย่าง จงใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความยาวของด้านทั้งสาม e f d   4 c 36   1. 2. f2 = d2 + e2 c2 = 42 + 362

เฉลย 1. 2. a b c ก ข ค a2 + b2 ก2 + ข2 c2 = ………………………… ค2 = ………………………… บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย จงใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทั้งสาม 1. 2. a   b c ก   ข ค a2 + b2 ก2 + ข2 c2 = ………………………… ค2 = …………………………

เฉลย 3. n m a 4. d o g m2 = a2 + n2 d2 = o2 + g2 บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย จงใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทั้งสาม 3. n   m a 4. d   o g m2 = a2 + n2 d2 = o2 + g2

เฉลย 5. 6. y x z ด ร ก ก2 = ร2 + ด2 z2 = x2 + y2 บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย จงใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทั้งสาม 5. 6. y   x z ด   ร ก ก2 = ร2 + ด2 z2 = x2 + y2

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก จงหาค่าของตัวแปรที่ไม่ทราบค่า เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและความยาวของด้านมาให้ C 3 B c 4 A จากความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 1. จะได้ว่า c2 = 32 + 42 = 9 + 16 c2 = 25 c = 5 = ดังนั้น ด้าน c ยาว 5 หน่วย

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก จงหาค่าของตัวแปรที่ไม่ทราบค่า เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและความยาวของด้านมาให้ จากความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2. C a B 1 A จะได้ว่า = a2 + 12 = 2 - 1 a2 = 1 a = 1 a2 = - 12 = ดังนั้น ด้าน a ยาว 1 หน่วย

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก จงหาค่าของตัวแปรที่ไม่ทราบค่า เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและความยาวของด้านมาให้ จากความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 3. A 5 C a 12 B จะได้ว่า a2 = 52 + 122 = 25 + 144 a2 = 169 a = 13 = ดังนั้น ด้าน a ยาว 13 หน่วย

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก จงหาค่าของตัวแปรที่ไม่ทราบค่า เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและความยาวของด้านมาให้ จากความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 4. จะได้ว่า 252 = c2 + 72 c2 = 252 – 72 = 625 - 49 = 576 c = 24 c   25 7 C A B = ดังนั้น ด้าน c ยาว 24 หน่วย

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 1. Find the lengths of the unknown sides in the following right-angled triangles. a) x2 = 42 + 52 = 16 + 25 = 41 x =

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 1. Find the lengths of the unknown sides in the following right-angled triangles. b) x2 = (3.5)2 + (6.4)2 = 12.25 + 40.96 = 53.21 x =

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 1. Find the lengths of the unknown sides in the following right-angled triangles. c) 72 = x2 + (2.2)2 x2 = 72 - (2.2)2 = 49 - 4.84 = 44.16 x =

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 1. Find the lengths of the unknown sides in the following right-angled triangles. d) x2 = 102 + 72 = 100 + 49 = 149 x =

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 1. Find the lengths of the unknown sides in the following right-angled triangles. e) 102 = x2 + 62 x2 = 102 - 62 = 100 - 36 = 64 x = x = 8

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 1. Find the lengths of the unknown sides in the following right-angled triangles. f) x2 = 52 + 32 = 25 + 9 = 34 x =

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 1. Find the lengths of the unknown sides in the following right-angled triangles. f) y2 = 92 + 52 = 81 + 25 = 106 y =

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 2. Find the length of the diagonal of the rectangle. x2 = 52 + 82 = 25 + 64 = 89 x =

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 3. Find the area of the isosceles triangle ABC. 192 = x2 + 82 x2 = 192 - 82 = 361 - 64 = 297 x =

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 3. Find the area of the isosceles triangle ABC. area = × 16 × area = 8 cm2

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 4. Find the diameter of the base of the cone below. 102 = x2 + 82 x2 = 102 - 82 = 100 - 64 = 36 x = x = 6 So, the diameter of the base of cone is 6 × 2 = 12 cm.

Exercise 1 Pythagorean Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เฉลย Exercise 1 Pythagorean Theorem 5. A 5 mater ladder is positioned 3.2 meters from a building, as shown in the diagram. Will the ladder reach a window which is 4 meters from the ground? 52 = x2 + (3.2)2 x2 = 52 - (3.2)2 = 25 - 10.24 = 14.76 x = x ≈ 3.84 No, the ladder will reach a window which is 3.8 meters from the ground.