ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ขั้นตอนที่ 1 การแต่งตั้งคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน (การตรวจสอบ)
Advertisements

CONFORMITY ASSESSMENT GUIDANCE ON A THIRD-PARTY CERTIFICATION SYSTEM
“Angiographic Patient's safety”
กระบวนการหาข้อมูลเพื่อทำ action plan แก้ OFI
พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
การตรวจติดตามคุณภาพภายใน
Food safety team leader
เทคนิคการแก้ไขปัญหาแบบ QCC (QC Circle Techniques)
สรุปการตรวจติดตามคุณภาพภายในของ การทดสอบ ณ จุดดูแลผู้ป่วย ประจำปีพ. ศ
ที่รองแขนฟองน้ำ หลักการและเหตุผล : เนื่องจากห้องผ่าตัดมีอุณหภูมิเย็น ผู้ป่วยที่มาผ่าตัดส่วนมากเวลาทำผ่าตัดจะจัด ท่านอนหงายราบ วัตถุประสงค์ : :
สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ __________________________________________________________________________________________________________________________________________.
องค์การระหว่างประเทศ น.อ.กฤษฎางค์ สุทัศน์ ณ อยุธยา
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
GOOD FARMING MANAGEMENT (GFM)
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
การตรวจติดตามภายใน ( Internal Audit )
การพิจารณากลุ่มเลข และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ประกอบการ ลงทะเบียนในกองทุน
วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
ข้อมูลประกอบการประชุมผู้บริหารระดับสูง
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
คู่มือการเขียนวิจัย R2R ฉบับย่อสำหรับนักวิจัยหน้าใหม่
ความรู้เบื้องต้นโปรแกรม การป้อนข้อมูลบน Table
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
แนวทางและนโยบาย การบริหารความเสี่ยง
ผลการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 เบื้องต้น
การบริหารความเสี่ยง จากการปฏิบัติงานในระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส (e-GP)
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
หมวดที่ 4 กายใจเป็นสุข นางอรวรรณ ดวงจันทร์ สำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 28 ธันวาคม 2559 ณ.โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
Risk Management in New HA Standards
Educational Standards and Quality Assurance
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
การฝึกปฏิบัติตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามแนวทาง SEPA สำหรับปี 2554
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
นโยบายการบริหารงาน ปี 2560
เรื่อง การผลิตอาหารปลอดภัย
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
ทบทวนการตรวจติดตามภายใน
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  Knowledge Management Tools   วัตถุประสงค์ (เมื่อศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนแล้ว.
ไว้วางใจได้ เชื่อถือได้
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
บทที่ 1 กลยุทธ์ของกระบวนการการพัฒนา ซอฟต์แวร์รายบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ด้านปศุสัตว์ พ.ศ. 2558 ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรอง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 7 ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรอง มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ พ.ศ. 2542, 2543, 2544, 2546, 2548, 2551

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ของประเทศไทย ที่มาของมาตรฐานฟาร์ม เริ่มต้นตั้งแต่ปี 2542 โดยกรมปศุสัตว์ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ของประเทศไทย ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2542 มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงไก่เนื้อ มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร มาตรฐานฟาร์มโคนมและการผลิตน้ำนมดิบ 2542 - 2546 มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงไก่พันธุ์ มาตรฐานสถานที่ฟักไข่สัตว์ปีก มาตรฐานฟาร์มไก่ไข่

ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2545 – จัดตั้ง มกอช. ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2546 มาตรฐานฟาร์มเป็ดพันธุ์และเป็ดเนื้อ 2546 - 2551 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ผึ้ง, โคเนื้อ, เป็ดไข่, นกกระทา, แกะเนื้อ, แพะเนื้อ, นกเขาชวาเสียง

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร: การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 เริ่มตั้งแต่ปี 2552 ซึ่งในปัจจุบันมีการประกาศด้านฟาร์มปศุสัตว์ จำนวน 16 ฉบับ ตัวอย่าง มกษ. มกษ. 6901-2552 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่เนื้อ มกษ. 6403-2558 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร มกษ. 6402-2552 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มโคนม http://www.acfs.go.th/standard/system_standards.php

การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี 16 ชนิดฟาร์ม 1 สถานที่ฟักไข่สัตว์ปีก 13. ไก่ไข่ 14. โคเนื้อ 15. ห่าน 16. ไก่พันธุ์ 17. สุกร 1. เป็ดเนื้อ 2. เป็ดพันธุ์ 3. ผึ้ง 4. เป็ดไข่ 5. นกกระทา 6. แพะเนื้อ 7. แกะเนื้อ 8.นกเขาชวาเสียง 9. ไก่เนื้อ 10. โคนม 11. แพะนม 12. สถานที่ฟักไข่สัตว์ปีก ไก่เนื้อนิวแฮมเชีย ไก่ไข่เล็กฮอร์น

ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรอง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ พ.ศ. 2558

ขอบเขตในระเบียบ ฯ หมวดที่ 1 คุณสมบัติของผู้ประกอบการและสถานประกอบการที่ ขอรับการรับรอง หมวดที่ 2 การขอรับการรับรอง การตรวจประเมิน การออก ใบรับรอง และเงื่อนไขสำหรับผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรอง หมวดที่ 3 อายุใบรับรองและการต่ออายุใบรับรอง หมวดที่ 4 การตรวจติดตาม การยกเลิกการรับรอง หมวดที่ 5 การพักใช้และเพิกถอนการรับรอง หมวดที่ 6 การอุทธรณ์ หมวดที่ 7 การจัดทำและเก็บข้อมูล

การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ Good Agricultural Practice for Livestock (GAP for Livestock) หมายความว่า วิธีปฏิบัติว่าด้วยองค์ประกอบของสถานประกอบการ การ จัดการอาหารสัตว์ การจัดการทรัพยากรน้ำที่ใช้เลี้ยงสัตว์ การจัดการฟาร์ม เลี้ยงสัตว์ การจัดการสุขภาพสัตว์ การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการด้าน สวัสดิภาพสัตว์ และระบบการบันทึกข้อมูล เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ถูก สุขลักษณะ และปลอดภัยต่อผู้บริโภคตามประเภทสัตว์ชนิดต่างๆตาม ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ และ ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มาตรฐานทั่วไป

การรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ สถานประกอบ การ คณะผู้ตรวจประเมิน คณะกรรมการรับรอง ผู้ประกอบ การ ผู้ตรวจประเมิน กรรมการ

สถานประกอบการและผู้ประกอบการ การ (Establishment) ฟาร์มเลี้ยงสัตว์หรือสถานที่ฟักไข่สัตว์ปีก เจ้าของสถานประกอบการหรือผู้จัดการสถานประกอบการหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจจากเจ้าของสถานประกอบการ ที่ยื่นขอการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ ผู้ประกอบ การ (Entrepreneur)

คุณสมบัติ ผ่านการฝึกอบรม “หลักสูตรการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์” หรือ “หลักสูตรมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์” สำหรับผู้ประกอบการ และได้รับ ใบประกาศนียบัตรจากสำนักงานปศุสัตว์เขต กรมปศุสัตว์ ไม่เป็นผู้ถูกเพิกถอนการรับรอง เว้นแต่เคยถูกเพิกถอนการรับรองมาแล้ว มากกว่า 3 ปี ได้ปรับปรุงสถานประกอบการ ให้เป็นไปตามข้อกำหนด มีสัตวแพทย์ที่มีใบรับรองสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มเลี้ยงสัตว์จากกรมปศุสัตว์

คณะผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมิน (Audit Team) คณะผู้ตรวจประเมินการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ ซึ่งเป็นกลุ่มบุคคลที่ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการ ผู้ตรวจประเมินการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ ซึ่งเป็นบุคคลที่ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการ ผู้ตรวจประเมิน(Auditor)

องค์ประกอบ ตรวจประเมินอย่างน้อย 2 คน ต้องมี : หัวหน้าผู้ตรวจประเมิน (lead auditor) 1 คน มี : ผู้ตรวจประเมิน (auditor) ผู้เชี่ยวชาญ (technical expert) ผู้สังเกตการณ์ (observer) ตรวจประเมินอย่างน้อย 2 คน มีใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพทางสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง อย่างน้อย 1 คน

ผู้ตรวจประเมิน ( Auditor ) จบการศึกษาขั้นต่ำระดับปริญญาตรี สาขาสัตวแพทยศาสตร์ หรือสัตวบาล หรือสัตวศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “ผู้ตรวจประเมินการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ด้านปศุสัตว์” หรือ “หลักสูตรผู้ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์” จาก กรมปศุสัตว์ มีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์ การจัดการฟาร์ม การ ตรวจประเมิน การจัดการด้านสุขภาพสัตว์ หรืองานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับด้าน ปศุสัตว์ ไม่น้อยกว่า 2 ปี และมีประสบการณ์เข้าร่วมตรวจประเมินในฐานะ ผู้ตรวจประเมินฝึกหัดอย่างน้อย 10 ครั้ง ปฏิบัติงานอยู่ที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดหรือสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ

หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน(Lead Auditor) จบการศึกษาขั้นต่ำระดับปริญญาตรี สาขาสัตวแพทยศาสตร์ หรือสัตวบาล หรือสัตวศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “ผู้ตรวจประเมินการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ด้านปศุสัตว์” หรือ “หลักสูตรผู้ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์” จาก กรมปศุสัตว์ มีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์ การจัดการฟาร์ม การ ตรวจประเมิน การจัดการด้านสุขภาพสัตว์ หรืองานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับด้าน ปศุสัตว์ โดยมีประสบการณ์ตรวจประเมินอย่างน้อย 5 ปี จำนวนอย่าง น้อย 5 ครั้ง และได้รับการประเมินสมรรถนะเหมาะสมเป็นหัวหน้าคณะ ผู้ตรวจประเมินจากสำนักงานปศุสัตว์เขต ปฏิบัติงานอยู่ที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดหรือสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ

ขั้นตอนการขึ้นทะเบียน หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน/ผู้ตรวจประเมิน แบบฟอร์มขอขึ้นทะเบียนฯ ลงนามโดย ปศจ. สำนักงานปศุสัตว์เขต ตรวจคุณสมบัติและเอกสาร ใบประกาศนียบัตร แบบฟอร์มบันทึกการตรวจประเมิน แบบฟอร์มผลการประเมินสมรรถนะ

ขั้นตอนการขึ้นทะเบียน (ต่อ) ผ่าน ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นหัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน /ผู้ตรวจประเมิน ไม่ผ่าน ส่งเอกสารคืนสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด

หน้าที่และความรับผิดชอบ ตรวจประเมินการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ ตรวจสอบและสอบสวนสถานประกอบการ ตรวจสอบและสอบสวนสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มเลี้ยงสัตว์ อื่นๆตามที่อธิบดีกรมปศุสัตว์สั่งการ

ผู้เชี่ยวชาญ ( Technical Expert ) บุคคลผู้ให้ความรู้ หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านแก่คณะผู้ตรวจ ประเมิน หน้าที่เสนอความคิดเห็นให้คณะผู้ตรวจประเมินพิจารณา ไม่มีอำนาจในการตัดสินการตรวจประเมิน ขอบข่ายหน้าที่ตามที่หัวหน้าผู้ตรวจประเมินมอบหมายในทีม ความเห็นจะถูกนำมากล่าวอ้างในการตรวจประเมิน

ผู้สังเกตการณ์ ( Observer ) ผู้ติดตามมากับคณะผู้ตรวจประเมินแต่ไม่ได้ดำเนินการตรวจประเมิน ไม่ใช่ผู้ตรวจ ไม่มีอำนาจในการตัดสินการตรวจประเมิน เสนอความเห็นต่อคณะผู้ตรวจประเมินได้แต่ความเห็นนั้นจะไม่ถูกนำมา กล่าวอ้าง

คณะกรรมการรับรอง (Certification Committee) คณะกรรมการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ ที่ได้รับการแต่งตั้งจากกรมปศุสัตว์ ให้ทำหน้าที่พิจารณาให้การรับรอง คงไว้ซึ่งการรับรอง ต่ออายุการรับรอง พักใช้การรับรอง เพิกถอนการรับรอง และยกเลิกการรับรอง

*ไม่มีผู้ตัดสินการรับรอง* องค์ประกอบ ประกอบด้วย - ประธานคณะกรรมการ - กรรมการ - เลขานุการคณะกรรมการ อย่างน้อย 3 คน มีใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพทางสัตวแพทย์ ชั้นหนึ่ง อย่างน้อย 2 คน *ไม่มีผู้ตัดสินการรับรอง*

คุณสมบัติ จบการศึกษาขั้นต่ำระดับปริญญาตรี สาขาสัตวแพทยศาสตร์ หรือสัตวบาล หรือสัตวศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “ผู้ตรวจประเมินการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ด้านปศุสัตว์” หรือ “หลักสูตรผู้ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์” จาก กรมปศุสัตว์ มีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์ การจัดการฟาร์ม การ ตรวจประเมินฟาร์ม การจัดการด้านสุขภาพสัตว์ หรืองานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับ ด้านปศุสัตว์ รวมกันไม่น้อยกว่า 5 ปี และมีประสบการณ์เข้าร่วมการตรวจ ประเมินในฐานะผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้สังเกตการณ์อย่างน้อย 20 ครั้ง ปฏิบัติงานอยู่ที่สำนักงานปศุสัตว์เขต

หน้าที่และความรับผิดชอบ พิจารณาให้การรับรอง คงไว้ซึ่งการรับรอง ต่ออายุการรับรอง พักใช้ การรับรอง เพิกถอนการรับรอง และยกเลิกการรับรอง อื่นๆตามที่อธิบดีกรมปศุสัตว์สั่งการ

1 2 3 4 5 ขั้นตอนการขอรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ การฝึกอบรม การยื่นขอรับรอง การตรวจประเมิน การตัดสินการรับรอง การให้การรับรอง 1 2 3 4 5

จัดโดยสำนักงานปศุสัตว์เขต หลักสูตร 1-2 วัน และออกใบประกาศนียบัตร การฝึกอบรม 1 จัดโดยสำนักงานปศุสัตว์เขต หลักสูตร 1-2 วัน และออกใบประกาศนียบัตร

สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ/จังหวัด/เขต ผู้ประกอบการ ยื่นใบสมัครเข้ารับการฝึกอบรม พร้อมสำเนาบัตรประชาชน สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ/จังหวัด/เขต รวบรวมเอกสารและรายชื่อ สำนักงานปศุสัตว์เขต ดำเนินการอบรม “ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์สำหรับผู้ประกอบการ ”และออกใบประกาศนียบัตร

ใบแทนใบประกาศนียบัตร ผู้ประกอบการ ใบประกาศนียบัตรที่ชำรุด หรือ แจ้งความ และเอาเอกสารแจ้งความ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด/เขต ส่งหลักฐาน สำนักงานปศุสัตว์เขต ดำเนินการออกใบแทนใบประกาศนียบัตร

ใบแทน

การยื่นขอรับรอง 2 สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ/จังหวัด  ผู้ประกอบการ ***ผ่านการอบรมแล้ว ผู้ประกอบการ แก้ไขเอกสาร ยื่นแบบฟอร์มการ ขอรับรอง GAP สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ/จังหวัด ผ่าน ตรวจเอกสาร และหลักฐาน ไม่ผ่าน 45 วัน  สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด คณะผู้ตรวจประเมิน นัดหมายวันตรวจประเมิน 7 วัน ก่อนวันตรวจ

1.เอกสารการสมัครขอรับรองมาตรฐานฟาร์มของผู้ประกอบการ แบบฟอร์มการขอรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์สำหรับ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ แบบ ม.ฐ.ฟ. 1 สถานที่ฟักไข่สัตว์ปีก แบบ ม.ฐ.ฟ. 2 ฟาร์มผึ้ง แบบ ม.ฐ.ฟ. 3 ฟาร์มนกเขาชวาเสียง แบบ ม.ฐ.ฟ. 4

2.หลักฐานประกอบคำขอรับรอง สำเนาบัตรประชาชน 1 ฉบับ สำเนาทะเบียนบ้าน 1 ฉบับ ใบแสดงถึงการได้รับความยินยอมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แผนผังแสดงที่ตั้งของโรงเรือนและสิ่งก่อสร้าง 1 ฉบับ แผนที่ที่ตั้งฟาร์ม 1 ฉบับ รูปถ่ายแสดงสภาพภายในฟาร์มและสิ่งก่อสร้าง กรณีต่ออายุการรับรองให้แนบใบรับรองฉบับเดิม

โดยคณะผู้ตรวจประเมิน (Audit team) ของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด การตรวจประเมิน 3 โดยคณะผู้ตรวจประเมิน (Audit team) ของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด

สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด แจ้งเมื่อแก้ไขแล้วเสร็จ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด 30วัน (15+15) Minor 90 วัน (2 ครั้ง) Major คณะผู้ตรวจประเมิน ผ่าน ดำเนินการ ตรวจประเมิน ไม่ผ่าน แจ้งแก้ไข ข้อบกพร่อง แจ้งผลการตรวจประเมิน สำนักงานปศุสัตว์เขต รวบรวมเอกสาร และหลักฐาน ภายใน 5 วันทำการ ภายใน 5 วัน 7 วันทำการ  ผู้ประกอบการ

รูปแบบการตรวจประเมิน การตรวจรับรองใหม่ (Initial audit) การตรวจติดตามผลการแก้ไข (Follow-up audit) การตรวจติดตาม (Surveillance audit) การตรวจต่ออายุ (Recertification audit) การตรวจกรณีพิเศษ (Special audit)

1 2 3 รูปแบบการตรวจประเมิน Audit Types Recertification audit 1 2 3 Surveillance audit Initial audit Recertification audit Follow-up audit Special audit

1. การตรวจรับรองใหม่(Initial audit) ตรวจประเมินเพื่อการรับรองครั้งแรก ตรวจประเมินอย่างละเอียดในทุกข้อกำหนด ต้องจัดส่งกำหนดการตรวจประเมินให้ผู้ประกอบการทราบ ล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน กรณีไม่พบข้อบกพร่อง สรุปผลการตรวจและรวบรวมเอกสาร เสนอคณะกรรมการรับรอง พิจารณาให้การรับรอง

กรณีพบข้อบกพร่อง ดำเนินการแก้ไขตามประเภทของข้อบกพร่อง ถ้าไม่ผ่านให้ยุติการ ตรวจประเมิน แล้วให้ผู้ประกอบการยื่นขอรับรองอีกครั้งเมื่อมี ความพร้อม

“แก้ไขข้อบกพร่องได้ 2 ครั้ง ภายในระยะเวลา 90 วัน” 2. การตรวจติดตามผลการแก้ไข(Follow-up audit) ตรวจประเมินเพื่อติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่อง จากการ ตรวจประเมินครั้งก่อน หากไม่ผ่าน กรณีรับรองใหม่ ยื่นขออีกครั้งเมื่อมีความพร้อม กรณีตรวจติดตามหรือต่ออายุ เสนอพักใช้การรับรองต่อ คณะกรรมการรับรอง “แก้ไขข้อบกพร่องได้ 2 ครั้ง ภายในระยะเวลา 90 วัน”

3. การตรวจติดตามผล (Surveillance audit) ตรวจประเมินสถานประกอบการที่ได้ใบรับรอง เพื่อติดตาม ผลการรักษาระบบที่ได้รับการรับรอง อาจเลือกตรวจในบางข้อกำหนด เพื่อบ่งชี้ถึงภาพรวมของการ ปฏิบัติงาน แต่ทุกครั้งรวมกันใน 3 ปี ต้องตรวจประเมินครบทุก ข้อกำหนด ต้องจัดส่งกำหนดการตรวจประเมินให้ผู้ประกอบการทราบ ล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน

ตรวจติดตามผลปีละ 1 ครั้ง ทุก 10-12 เดือน กรณีไม่พบข้อบกพร่อง สรุปผลการตรวจและรวบรวมเอกสาร เสนอคณะกรรมการรับรอง พิจารณาคงไว้ซึ่งการรับรอง กรณีพบข้อบกพร่อง ดำเนินการแก้ไขตามประเภทของข้อบกพร่อง ถ้าไม่ผ่านเสนอ คณะกรรมการรับรองพิจารณาพักใช้การรับรอง ตรวจติดตามผลปีละ 1 ครั้ง ทุก 10-12 เดือน ในรอบการรับรอง 3 ปี จะตรวจติดตามรวม 2 ครั้ง

4. การตรวจต่ออายุ (Recertification Audit) ตรวจประเมินเพื่อการต่ออายุใบรับรองก่อนใบรับรองสิ้นอายุ ตรวจประเมินอย่างละเอียดในทุกข้อกำหนด ดำเนินการทุก 3 ปี ต้องแจ้งแผนการตรวจให้ฟาร์มทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน กรณีไม่พบข้อบกพร่อง สรุปผลการตรวจและรวบรวมเอกสาร เสนอคณะกรรมการรับรอง พิจารณาต่ออายุการรับรอง

ยื่นต่อก่อนหมดอายุ 5 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน กรณีพบข้อบกพร่อง ดำเนินการแก้ไขตามประเภทของข้อบกพร่อง ถ้าไม่ผ่านเสนอ คณะกรรมการรับรองพิจารณาพักใช้การรับรอง ยื่นต่อก่อนหมดอายุ 5 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน

5. การตรวจกรณีพิเศษ (Special Audit) อาจไม่แจ้งให้ผู้ประกอบการทราบล่วงหน้า สาเหตุ มีเหตุอันควรสงสัยว่าสถานประกอบการที่ได้รับการรับรองมีประสิทธิภาพลดลง ผู้ประกอบการไม่ปฏิบัติตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ หรือเงื่อนไขสำหรับผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองที่กรมปศุสัตว์กำหนด คณะกรรมการรับรองให้ตรวจประเมินเพิ่มเติมจากที่กำหนดไว้ มีการโอนกิจการ กรณีอื่นๆ ตามที่กรมปศุสัตว์มอบหมายให้ดำเนินการ

4.การตรวจต่ออายุใบรับรอง (Recertification Audit) ต้องแจ้งล่วงหน้า ตรวจเต็มรูปแบบ และเก็บตัวอย่าง 1.การตรวจประเมินเพื่อการรับรอง (Initial Audit) ตรวจแบบย่อ 2.การตรวจติดตามผลการแก้ไข (Follow-up Audit) 3.การตรวจติดตามผล (Surveillance Audit) 4.การตรวจต่ออายุใบรับรอง (Recertification Audit) ไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า 5.การตรวจกรณีพิเศษ (Special Audit)

หลักความปลอดภัยทางชีวภาพ ไม่เข้าไปในสถานที่รวมสัตว์ ก่อนเข้าตรวจประเมิน ณ สถาน ประกอบการ ภายหลังจากตรวจประเมินสถานประกอบการเรียบร้อยแล้ว ต้องพักโรค ถึงจะสามารถตรวจประเมินสถานประกอบการถัดไปได้ ถ้ามีอาการเจ็บป่วย เช่น มีอาการป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ หรือ ระบบทางเดินอาหาร ห้ามเข้าสถานประกอบการโดยเด็ดขาด ไม่นำยานพาหนะเข้าไปในเขตพื้นที่การเลี้ยงสัตว์

หลักความปลอดภัยทางชีวภาพ (ต่อ) ก่อนเข้าเขตพื้นที่การเลี้ยงสัตว์หรือพื้นที่ปฏิบัติงาน ต้องปฏิบัติตาม มาตรการสุขลักษณะส่วนบุคคล ที่ทางสถานประกอบการได้กำหนดไว้ เมื่อเข้าเขตพื้นที่การเลี้ยงสัตว์หรือพื้นที่ปฏิบัติงาน ให้เริ่มการตรวจ ประเมินจากพื้นที่สะอาดมากสุด ไปยังพื้นที่สะอาดน้อยสุด ถ้าต้องเข้าโรงเรือนเลี้ยงสัตว์มากกว่า 1 โรงเรือน ภายในสถาน ประกอบการเดียวกัน ต้องมีมาตรการเพื่อป้องกันการปนเปื้อนข้าม วัสดุ อุปกรณ์ที่จะนำเข้าพื้นที่เลี้ยงสัตว์ต้องผ่านการตรวจสอบความ สะอาดและฆ่าเชื้อโรค ตามวิธีที่เหมาะสม

ขั้นตอนการตรวจประเมิน ณ ฟาร์ม 1.การเปิดประชุม 2.การตรวจประเมิน 3.การบันทึกสิ่งที่พบ 4.การประชุมคณะผู้ตรวจประเมิน 5. การปิดประชุม

การเปิดประชุม ขั้นตอนการตรวจประเมิน ณ ฟาร์ม โดยหัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน แนะนำคณะผู้ตรวจประเมิน ชื่อ ตำแหน่ง หน่วยงานที่มา บทบาทของแต่ละคนในคณะ แจ้งวัตถุประสงค์การตรวจ

การตรวจประเมิน ขั้นตอนการตรวจประเมิน ณ ฟาร์ม ใช้แบบฟอร์มตามชนิดสัตว์ที่ตรวจ วิธีการตรวจประเมิน การสัมภาษณ์ การตรวจเอกสารและบันทึก การสังเกตกิจกรรม และสภาวะของพื้นที่ที่ตรวจ

ขั้นตอนการตรวจประเมิน ณ ฟาร์ม หัวข้อการตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์ม 1.องค์ประกอบของฟาร์ม 2.อาหาร 3.น้ำ 4.การจัดการฟาร์ม 5.สุขภาพสัตว์ 6.สวัสดิภาพสัตว์ 7.สิ่งแวดล้อม 8.การบันทึกข้อมูล

Opportunity for Improvement ขั้นตอนการตรวจประเมิน ณ ฟาร์ม การบันทึกสิ่งที่พบ เป็นไปตามข้อกำหนด (Conformity) พบข้อบกพร่อง (Nonconformity) MAJOR MINOR REC อาจแนบข้อเสนอแนะ Opportunity for Improvement (OFI)

(Major nonconformity) ข้อบกพร่องรุนแรง (Major nonconformity) สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี และส่งผลร้ายแรงต่อระบบการผลิต MAJOR

ผู้ประกอบการจัดทำแนวทางแก้ไขและดำเนินการแก้ไข เมื่อพบ MAJOR ผู้ประกอบการจัดทำแนวทางแก้ไขและดำเนินการแก้ไข คณะผู้ตรวจประเมิน ไม่ยอมรับ 90 วัน (2 ครั้ง) สำนักงานปศุสัตว์เขต ยอมรับ

(Minor nonconformity) ข้อบกพร่องไม่รุนแรง (Minor nonconformity) สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ในบางส่วน และไม่มีผลร้ายแรงต่อระบบการผลิต MINOR

ผู้ประกอบการจัดทำแนวทางแก้ไข เมื่อพบ MINOR ผู้ประกอบการจัดทำแนวทางแก้ไข คณะผู้ตรวจประเมิน ไม่จัดทำ 30 วัน (15+15) สำนักงานปศุสัตว์เขต

(Recommendation/Observation) ข้อสังเกต REC (Recommendation/Observation) สิ่งที่ไม่ถือเป็นข้อบกพร่อง แต่หากปล่อยทิ้งไว้หรือละเลย อาจ นำไปสู่ข้อบกพร่อง

(Recommendation/Observation) ข้อสังเกต REC (Recommendation/Observation) มีข้อบกพร่อง REC ให้คณะผู้ตรวจประเมินให้คำแนะนำ คณะผู้ตรวจประเมินนำเสนอข้อบกพร่อง REC คณะกรรมการ รับรองพิจารณาในรายงานการตรวจประเมิน

(Corrective Action Request) การออก CAR (Corrective Action Request) แบบคำร้องขอให้มีการแก้ไข การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ = แบบฟอร์มบันทึก ข้อบกพร่อง

(Corrective Action Request) การปิด CAR (Corrective Action Request) เมื่อได้แก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสร็จ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ = ผลการตรวจติดตาม การแก้ไขข้อบกพร่อง

การประชุมคณะผู้ตรวจประเมิน ขั้นตอนการตรวจประเมิน ณ ฟาร์ม การประชุมคณะผู้ตรวจประเมิน เพื่อร่วมกันพิจารณา และสรุปว่าสิ่งที่ตรวจพบรายการใด ถือเป็นข้อบกพร่อง รายงานผลการตรวจประเมิน และรายงานข้อบกพร่อง (ถ้ามี)

การประชุมปิด ขั้นตอนการตรวจประเมิน ณ ฟาร์ม โดยหัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน แจ้งผลการตรวจประเมินให้ผู้ประกอบการรับทราบ พร้อมทำความเข้าใจให้ถูกต้องตรงกัน หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมินและผู้ประกอบการลงนาม ยอมรับผลการตรวจ นัดหมายการตรวจติดตามการแก้ไข(ถ้ามี)

การยุติการตรวจประเมิน คณะผู้ตรวจประเมินพบข้อบกพร่องรุนแรงจำนวนมาก ผู้ประกอบการมีความประสงค์ขอยุติการตรวจประเมิน ให้ผู้ประกอบการยื่นความประสงค์ขอตรวจใหม่ เมื่อมี ความพร้อม

โดยคณะกรรมการรับรองของสำนักงานปศุสัตว์เขต การตัดสินการรับรอง 4 คณะกรรมการรับรอง รับรอง/ต่ออายุ ติดตามผล ยกเลิก พักใช้ เพิกถอน โดยคณะกรรมการรับรองของสำนักงานปศุสัตว์เขต

สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด สำนักงานปศุสัตว์เขต แจ้งผลการแก้ไข ข้อบกพร่อง คณะกรรมการรับรอง ผ่าน ไม่ผ่าน พิจารณาตัดสิน ผลการรับรอง สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด แจ้งผล แจ้งแก้ไขข้อบกพร่อง ผู้ประกอบการ การให้การรับรอง 5 ปรับปรุง ข้อบกพร่อง

การยกเลิกการรับรอง ผู้ประกอบการเลิกประกอบกิจการที่ได้รับการรับรอง ผู้ประกอบการตายและไม่มีผู้รับโอนกิจการที่มีคุณสมบัติตามเงื่อนไข สำหรับผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรอง ผู้ประกอบการแจ้งขอยกเลิกเป็นลายลักษณ์อักษร มีการเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดหรือขั้นตอนการรับรอง และ ผู้ประกอบการไม่สามารถปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือขั้นตอนการ รับรองที่เปลี่ยนแปลงใหม่ได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด ใบรับรองสิ้นสภาพกรณีที่ผู้ประกอบการไม่ดำเนินการยื่นต่ออายุการ รับรอง

การยกเลิกการรับรอง(ต่อ) ส่งใบรับรองคืนภายใน 15 วัน สรุปข้อเท็จจริงและ หลักฐานประกอบ คณะผู้ตรวจประเมิน เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย สำนักงานปศุสัตว์เขต คณะกรรมการรับรอง ผู้ประกอบการ คงไว้ซึ่งการรับรอง ส่งใบรับรองคืนภายใน 15 วัน

การพักใช้ใบรับรอง สาเหตุที่จะมีผลในการพักใช้ใบรับรอง 1. ไม่จัดส่งแนวทางการแก้ไขตามระยะเวลาที่กำหนดแล้ว 2. พ้นระยะเวลาที่ให้ผู้ประกอบการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง 3. พบสารตกค้างเกินเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งมีสาเหตุมาจาก ผู้ประกอบการ

การพักใช้ใบรับรอง(ต่อ) พักใช้ใบรับรอง ไม่เกิน 180 วัน รวบรวมเอกสาร และหลักฐาน คณะผู้ตรวจประเมินหรือเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ ไม่ผิด ผิด สำนักงานปศุสัตว์เขต คณะกรรมการรับรอง คงไว้ซึ่งการรับรอง ผู้ประกอบการ พักใช้ใบรับรอง ไม่เกิน 180 วัน

การพักใช้ใบรับรอง(ต่อ) ดำเนินการตรวจ ติดตามผลการแก้ไข ผ่าน ไม่ผ่าน สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด คณะผู้ตรวจประเมิน สำนักงานปศุสัตว์เขต คณะกรรมการรับรอง สำนักงานปศุสัตว์เขต คณะกรรมการรับรอง คงไว้ซึ่งการรับรอง ไม่หมดอายุ ยื่นขอรับรองใหม่ หมดอายุ เพิกถอนการรับรอง

การเพิกถอนใบรับรอง สาเหตุที่อาจนำไปสู่การเพิกถอนใบรับรอง ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขสำหรับผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรอง หรือมีผลกระทบร้ายแรงต่อการรับรอง มีการใช้สารต้องห้ามในสถานประกอบการหรือตรวจพบใน ผลผลิต ไม่ปฏิบัติตามระบบที่ได้รับการรับรองหลังจากถูกพักใช้ ใบรับรอง 2 ครั้ง ภายในระยะเวลา 3 ปี ผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองกระทำผิดต่อกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง

การเพิกถอนใบรับรอง(ต่อ) (ส่งใบรับรองคืนภายใน 15 วัน) รวบรวมเอกสาร และหลักฐาน คณะผู้ตรวจประเมินหรือเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ ไม่ผิด ผิด สำนักงานปศุสัตว์เขต คณะกรรมการรับรอง คงไว้ซึ่งการรับรอง ผู้ประกอบการ เพิกถอนการรับรอง 3 ปี (ส่งใบรับรองคืนภายใน 15 วัน)

การอุทธรณ์ ผู้ประกอบการทำหนังสือยื่นต่ออธิบดีกรมปศุสัตว์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ทราบผลการพิจารณา คำวินิจฉัยของอธิบดีกรมปศุสัตว์ถือเป็นที่สุด

ใบรับรองมีอายุ 3 ปี นับจากวันที่คณะกรรมการมีผลการพิจารณาให้การรับรอง การให้การรับรอง 5 สำนักงานปศุสัตว์เขต คณะกรรมการรับรอง ผ่าน สำนักงานปศุสัตว์เขต ลงนามโดย ปศุสัตว์เขต ออกใบรับรองฯ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ผู้ประกอบการ ใบรับรองมีอายุ 3 ปี นับจากวันที่คณะกรรมการมีผลการพิจารณาให้การรับรอง

ตัวอย่างใบรับรองฯ (อายุการรับรอง 3 ปี)

ความหมาย ของ กษ 02 22 06901 19050217 000 กษ = กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กษ = กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 02 = กรมปศุสัตว์ 22 = การรับรอง GAP 06901 (XXXXX) = รหัสมาตรฐาน มกษ. 1905 = รหัสพื้นที่ตั้งของฟาร์มตามกรมการปกครอง 0217 = ลำดับของฟาร์มที่รับรองในจังหวัดนั้น 000 = ขอบข่ายย่อยของมาตรฐาน (ถ้ามี)

สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด/เขต ใบแทนใบรับรอง ผู้ประกอบการ ใบรับรองชำรุด หรือ แจ้งความ และเอาเอกสารแจ้งความ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด/เขต ส่งหลักฐาน สำนักงานปศุสัตว์เขต ดำเนินการออกใบแทนใบรับรอง

ใบแทน วันที่ สนง.ปศข. ได้รับ หลักฐาน วันเดือนปีเดิม

ความแตกต่างระหว่างระเบียบฯปี 2551 และ 2558 หัวข้อ ระเบียบฯปี 2551 ระเบียบฯปี 2558 1. การขึ้นทะเบียนและการประเมินสมรรถนะหัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน ผู้ตรวจประเมิน ไม่ได้กำหนด สนง.ปศข.เป็นผู้ขึ้นทะเบียน โดยกำหนดคุณสมบัติ(การศึกษา การผ่านฝึกอบรม ประสบการณ์) สนง.ปศข. เป็นผู้ประเมินสมรรถนะอย่างน้อยปีละ 1ครั้ง 2. การเก็บประสบการณ์การตรวจประเมินและการเข้าร่วมการตรวจประเมิน กำหนด 3. การตรวจติดตามภายใน ไม่ได้กำหนด(มีเป้าหมาย) สนง.ปศข.– สนง.ปศจ. สนง.ปศข. – สนง.ปศข. 4. การรับสมัครฝึกอบรมผู้ประกอบการ สนง.ปศข. สนง.ปศข.,สนง.ปศจ.,สนง.ปศอ.

ความแตกต่างระหว่างระเบียบฯปี 2551 และ 2558 หัวข้อ ระเบียบฯปี 2551 ระเบียบฯปี 2558 5. แบบฟอร์มการรับสมัครฝึกอบรม ไม่มี มี 6. รูปแบบใบประกาศนียบัตร 7.รูปแบบใบแทนใบประกาศนียบัตร 8. การรับแบบฟอร์มมฐฟ.จากผู้ประกอบการ สนง.ปศจ. สนง.ปศอ.(รวบรวมส่งให้สนง.ปศจ.) 9. คุณสมบัติคณะผู้ตรวจประเมิน ตามตำแหน่งที่ปฏิบัติงาน ผู้ที่ขึ้นทะเบียนเป็นหัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมินจาก สนง.ปศข. 10. องค์ประกอบคณะผู้ตรวจประเมิน อย่างน้อย 3 คน อย่างน้อย 2 คน โดยต้องมีผู้มีใบประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง อย่างน้อย 1 คน

ความแตกต่างระหว่างระเบียบฯปี 2551 และ 2558 หัวข้อ ระเบียบฯปี 2551 ระเบียบฯปี 2558 11. การนัดหมายผู้ประกอบการเพื่อตรวจประเมินสถานประกอบการ ไม่ได้กำหนด ดำเนินการตรวจภายใน 45 วัน นับจากวันที่ สนง.ปศจ. ได้รับเอกสารจากผู้ประกอบการครบถ้วน 12. การปฏิบัติตัวก่อนเข้าสถานประกอบการ กำหนดหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ 13. การรายงานผลการตรวจประเมินกับผู้ประกอบการ ทำหนังสือราชการแจ้งผลการตรวจให้ผู้ประกอบการภายใน 15 วันทำการ ทำรายงานผลการตรวจประเมิน โดยทั้ง 2 ฝ่าย ต้องลงนามในแบบฟอร์ม และมอบสำเนาให้ผู้ประกอบการภายใน5 วันทำการ

ความแตกต่างระหว่างระเบียบฯปี 2551 และ 2558 หัวข้อ ระเบียบฯปี 2551 ระเบียบฯปี 2558 14. การจัดทำแนวทางแก้ไข ให้ผู้ประกอบการจัดส่งแนวทางแก้ไขภายใน 30 วัน ให้ผู้ประกอบการจัดส่งแนวทางแก้ไขภายใน 15 วัน นับจากวันที่ตรวจประเมินแล้วเสร็จ หากผู้ประกอบการไม่จัดทำ ให้คณะผู้ตรวจฯแจ้งเตือนและให้ส่ง(อีกครั้ง)ภายใน 15 วัน รวมเป็น 30 วัน 15. กรณีพบข้อบกพร่องรุนแรง ผู้ประกอบการดำเนินการแก้ไขได้ 2 ครั้ง ภายในระยะเวลา 6 เดือน ผู้ประกอบการดำเนินการแก้ไขได้ 2 ครั้ง ภายในระยะเวลา 3 เดือน นับจากวันที่ตรวจประเมินแล้วเสร็จ

ความแตกต่างระหว่างระเบียบฯปี 2551 และ 2558 หัวข้อ ระเบียบฯปี 2551 ระเบียบฯปี 2558 16. แนวทางการดำเนินการในกรณีที่พ้นระยะเวลาที่กำหนด ตรวจรับรองใหม่/ต่ออายุ : คณะผู้ตรวจฯตรวจประเมินใหม่ทุกข้อกำหนด โดยผู้ประกอบการไม่ต้องยื่นขอใหม่ถ้าพร้อมภายใน1 ปี ตรวจติดตาม : เสนอคณะ กรรมการเพื่อพักใช้หรือเพิกถอน ตรวจรับรองใหม่ : ให้ผู้ประกอบการยื่นขอตรวจใหม่ เมื่อมีความพร้อม ตรวจติดตาม/ต่ออายุ : คณะผู้ตรวจฯรวบรวมเอกสารทั้งหมดที่แสดงให้เห็นว่าคณะผู้ตรวจฯมีการแจ้งผู้ประกอบการให้ดำเนินการและพ้นระยะเวลาที่กำหนดแล้ว และเสนอพักใช้การรับรองต่อคณะกรรมการรับรอง 17. การตรวจติดตาม เสนอผู้ตัดสินพิจารณาคงไว้ซึ่งการรับรอง เสนอคณะกรรมการรับรองพิจารณาคงไว้ซึ่งการรับรอง

ความแตกต่างระหว่างระเบียบฯปี 2551 และ 2558 หัวข้อ ระเบียบฯปี 2551 ระเบียบฯปี 2558 18. การเก็บตัวอย่างอาหารสัตว์ ถุงที่ 1 และ 2 ให้ ศวพ./สตส. ถุงที่ 3 ให้ผู้ประกอบการ ถุงที่ 1 ให้ ศวพ./สตส. ถุงที่ 2 ให้ผู้ประกอบการ ถุงที่ 3 ให้สนง.ปศจ. 19.การยกเลิก ผู้ประกอบการยกเลิกประกอบกิจการที่ได้รับการรับรอง ผู้ประกอบการเสียชีวิต ผู้ประกอบการโอนกิจการให้บุคคลอื่นที่ไม่ใช่สมาชิกในครอบครัว ผู้ประกอบการแจ้งขอยกเลิกเป็นลายลักษณ์อักษร มีการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานที่ได้รับการรับรอง และผู้ประกอบการไม่สามารถปฏิบัติตามข้อกำหนดที่เปลี่ยนแปลงได้ ขอใบรับรองฉบับเดิมคืนภายใน 30 วัน นับจากวันที่ออกหนังสือ ผู้ประกอบการเลิกประกอบกิจการที่ได้รับการรับรอง ผู้ประกอบการตาย และไม่มีผู้รับโอนกิจการ ผู้ประกอบการแจ้งขอยกเลิกการรับรองเป็นลายลักษณ์อักษร มีการเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดหรือขั้นตอนการรับรอง และผู้ประกอบการไม่สามารถปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือขั้นตอนการรับรองที่เปลี่ยนแปลงใหม่ได้ภายใต้ระยะเวลาที่กำหนด ใบรับรองสิ้นสภาพ กรณีที่ผู้ประกอบการไม่ดำเนินการยื่นต่ออายุการรับรองหลังใบรับรองหมดอายุ ขอใบรับรองฉบับเดิมคืนภายใน 15วัน นับจากวันที่ทราบหนังสือ

ความแตกต่างระหว่างระเบียบฯปี 2551 และ 2558 หัวข้อ ระเบียบฯปี 2551 ระเบียบฯปี 2558 20. การพักใช้ ผู้ประกอบการไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของการรับรอง เช่น ผู้ประกอบการนำเครื่องหมายรับรองของกรม ปศุสัตว์ไปติดที่ผลิตภัณฑ์ พบสารตกค้างในผลผลิตเกินเกณฑ์ที่กำหนด ไม่มีหลักฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มและทำให้มีผลกระทบต่อระบบการผลิต ไม่แก้ไขข้อบกพร่องในระยะเวลาที่กำหนด เช่น ในระหว่างการตรวจติดตามผล พบว่าผู้ประกอบการไม่สามารถแก้ปัญหา เรื่องน้ำเสียจากฟาร์มสุกรได้ มีการพักเลี้ยงสัตว์ที่ได้รับการรับรองเป็นการชั่วคราว ตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป แต่ไม่เกิน 1 ปี สนง.ปศจ.แจ้งผู้ประกอบการ การพักใช้การรับรองแต่ละครั้ง มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 60 วัน แต่ไม่เกิน 180 วัน มีผลนับจากวันที่คณะกรรมการมีมติ 15 วัน ไม่จัดส่งแนวทางการแก้ไข และคณะผู้ตรวจประเมินได้แจ้งเตือนให้จัดส่งแนวทางการแก้ไขตามระยะเวลาที่กำหนดในคู่มือการปฏิบัติงาน พ้นระยะเวลาที่ให้ผู้ประกอบการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง พบสารตกค้างเกินเกณฑ์ที่กำหนดซึ่งมีสาเหตุมาจากผู้ประกอบการ สนง.ปศข.แจ้งผู้ประกอบการ การพักใช้การรับรองแต่ละครั้ง มีระยะเวลาไม่เกิน 180 วัน มีผลนับจากวันที่ทราบคำสั่งพักใช้การรับรอง

ความแตกต่างระหว่างระเบียบฯปี 2551 และ 2558 หัวข้อ ระเบียบฯปี 2551 ระเบียบฯปี 2558 21. การเพิกถอน ผู้ประกอบการไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับรองและส่งผลกระทบร้ายแรง ต่อการรับรอง เช่น ผู้ประกอบการปลอมแปลงใบรับรองให้ผู้อื่นนำไปใช้ หรือนำผลผลิตจากฟาร์มอื่นหรือสร้างหลักฐานมาอ้างอิงการรับรองในชื่อของฟาร์มที่ได้รับการรับรอง มีหลักฐานที่พิสูจน์ได้ว่า มีการใช้สารต้องห้ามในฟาร์มหรือตรวจพบในผลผลิต ถูกพักใช้ใบรับรอง 2 ครั้ง ภายในระยะเวลา 3 ปี มีข้อร้องเรียนที่คณะกรรมการพิจารณาแล้วเห็นว่าอาจทำให้เกิดความเสียหายต่อการรับรอง เช่น มีหลักฐานที่พิสูจน์ได้ว่าผู้ประกอบการนำซากสัตว์ไปทิ้งในแหล่งน้ำสาธารณะหรือปล่อยน้ำเสียที่มีค่าไม่ได้มาตรฐาน ลงแหล่งน้ำสาธารณะและส่งผลกระทบรุนแรงต่อสภาพแวดล้อม สนง.ปศจ.แจ้งผู้ประกอบการ มีผลคณะกรรมการมีมติ 15 วัน ขอใบรับรองฉบับเดิมคืนภายใน 30 วัน นับจากวันออกหนังสือ ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขสำหรับผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองหรือส่งผลกระทบร้ายแรงต่อการรับรอง ตัวอย่างเช่น ปลอมแปลงเอกสาร การปลอมใบรับรอง การแก้ไขใบรับรอง การนำผลผลิตที่ไม่ได้รับการรับรองมากล่าวอ้าง เป็นต้น มีการใช้สารต้องห้ามในสถานประกอบการหรือตรวจพบในผลผลิต ไม่ปฏิบัติตามระบบที่ได้รับการรับรองหลังจากถูกพักใช้การรับรอง 2 ครั้ง ภายในระยะเวลา 3 ปี มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองกระทำผิดต่อกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง สนง.ปศข.แจ้งผู้ประกอบการ มีผลนับจากวันที่ทราบคำสั่งเพิกถอนการรับรอง ขอใบรับรองฉบับเดิมคืนภายใน 30 วัน นับจากวันที่ทราบคำสั่ง

ความแตกต่างระหว่างระเบียบฯปี 2551 และ 2558 หัวข้อ ระเบียบฯปี 2551 ระเบียบฯปี 2558 22. การอุทธรณ์ ไม่ได้กำหนด ยื่นอุทธรณ์เป็นลายลักษณ์อักษรต่ออธิบดีกรมปศุสัตว์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ทราบการพักใช้หรือเพิกถอนการรับรอง 23. ใบรับรอง ลงนามโดยปศุสัตว์จังหวัด ลงนามโดยปศุสัตว์เขต 24. ใบแทนใบรับรอง ไม่มี มี 25. คุณสมบัติคณะกรรมการรับรอง ตามตำแหน่งที่ปฏิบัติงาน ผู้ที่ขึ้นทะเบียนเป็นกรรมการรับรอง 26. องค์ประกอบคณะกรรมการรับรอง 4 คน อย่างน้อย 3 คน โดยในคณะกรรมการรับรองจะต้องมี

ความแตกต่างระหว่างระเบียบฯปี 2551 และ 2558 หัวข้อ ระเบียบฯปี 2551 ระเบียบฯปี 2558 (ต่อ) กรรมการที่ปฏิบัติงาน ณ ส่วนมาตรฐานการปศุสัตว์ สนง.ปศข. อย่างน้อย 2 คน กรรมการที่มีใบประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง อย่างน้อย 2 คน การประชุมคณะกรรมการรับรอง ประกอบด้วยตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการ กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ ทั้งนี้ ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการ คือ กรรมการที่ปฏิบัติหน้าที่ ณ ส่วนมาตรฐานการปศุสัตว์ สนง.ปศข.

ความแตกต่างระหว่างระเบียบฯปี 2551 และ 2558 หัวข้อ ระเบียบฯปี 2551 ระเบียบฯปี 2558 27. หน้าที่คณะกรรมการรับรอง พิจารณาให้คำตัดสินการรับรองครั้งแรก การพักใช้ การเพิกถอน และการต่ออายุใบรับรอง พิจารณาให้การรับรอง คงไว้ซึ่งการรับรอง ต่ออายุ ยกเลิก พักใช้ เพิกถอน 28. ผู้ตัดสิน มี (ตัดสินการคงไว้ซึ่งการรับรองและการยกเลิกการรับรอง) ไม่มี 29. แบบฟอร์ม ปรับปรุงใหม่ และเพิ่มเติม

ขอบคุณค่ะ