งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 เบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 เบื้องต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 เบื้องต้น
งบรายจ่าย พรบ. ปี 2559 คำขอปี 2560 ผลต่าง 60-59 % ร่าง พรบ. อนุกรรมาธิการปรับลด ได้รับ (ณ 15 ก.ค. 59) 1. งบบุคลากร 780,376,500 790,025,000 - + 9,648,500 1.24 - เงินเดือน/ลปจ. 475,175,800 478,841,600 3,665,800 0.77 - พนักงานราชการ 305,200,700 311,183,400 5,982,700 1.96 2. งบดำเนินงาน 438,635,900 514,987,500 2,000,000 512,987,500 74,351,600 16.95 - ค่าตอบแทนใช้สอยฯ 411,474,100 487,825,700 485,825,700 18.07 - ค่าสาธารณูปโภค 27,161,800 0.00 3. งบลงทุน 45,712,100 42,871,700 162,000 42,709,700 3,002,400 -6.57 - ค่าครุภัณฑ์ 33,357,100 35,506,100 2,149,000 6.44 - ค่าสิ่งก่อสร้าง 12,355,000 7,365,600 7,203,600 5,151,400 -41.69 4. งบเงินอุดหนุน 5. งบรายจ่ายอื่น รวมทั้งสิ้น 1,264,724,500 1,347,884,200 2,162,000 1,345,722,200 80,997,700 6.40 หมายเหตุ : การชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯยังไม่แล้วเสร็จ คงเหลือคณะกรรมาธิการบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมีกำหนดการชี้แจงประมาณ ต้นเดือนสิงหาคม 2559

2 กรอบการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ปีงบประมาณ 2560 กลุ่มนโยบายและแผน สำนักแผนงานและโครงการพิเศษ 29 กรกฎาคม 2559

3 ภายในปี 2563 สหกรณ์และเกษตรกร มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชี
ที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ และพัฒนาได้อย่างยั่งยืน สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรมีความมั่นคง ทางการเงิน เข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ เกษตรกรสามารถจัดทำบัญชี ได้ ใช้บัญชีเป็นอย่าง สม่ำเสมอ สหกรณ์ที่มีเสถียรภาพทางการเงินอยู่ในระดับมั่นคงดีขึ้นไป สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่จัดทำบัญชีและ งบการเงินได้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีระดับชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับดีขึ้นไป เกษตรกรที่สามารถจัดทำบัญชีได้ ใช้บัญชีเป็น อย่างสม่ำเสมอ AUDITOR Timely รู้ทันสถานการณ์ Opportunity Provider เพิ่มโอกาสให้พัฒนา Reliable เชื่อถือได้ Accurate แม่นยำในกฎเกณฑ์ Understanding รู้เขา Development Oriented พัฒนาให้เติบโต In-Depth รู้เชิงลึก

4 เป้าประสงค์ : สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรมีความมั่นคงทางการ เงิน เข้มแข็ง และพึ่งพาตนเองได้
1. กลุ่ม พร้อม แผนงาน/โครงการ ปี 2560 1. สอบบัญชีระหว่างปี / สอบบัญชีประจำปี 2. โครงการสร้างความเชื่อมั่นต่อการทำธุรกรรมทางการเงินของสมาชิกสหกรณ์ (ยืนยันยอด) 400,000 คน 3. พัฒนาบุคลากรสหกรณ์สู่ความเป็นมืออาชีพ 3.1 โครงการเพิ่มศักยภาพการทางการเงินการบัญชีเพื่อการบริหารสหกรณ์ (อบรมคณะกรรมการ) 300 แห่ง 3.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการกำกับดูแลฝ่ายจัดการ (อบรมคณะกรรมการ) 300 แห่ง 3.3 โครงการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจการเงินขั้นพื้นฐานแก่สมาชิกสหกรณ์ (อบรมสมาชิกสหกรณ์) 14,000 คน 3.4 โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กลุ่มพัฒนาศักยภาพ) 679 คน 2. กลุ่มไม่ พร้อม แผนงาน/โครงการ ปี 2560 1. จัดประชุม 3 ฝ่าย/สอนแนะการจัดทำบัญชี 2. เพิ่มขีดความสามารถในการจัดทำบัญชี/งบการเงินและยกระดับชั้นคุณภาพ 2.1 โครงการสร้างความเข้มแข็งการจัดทำบัญชีและงบการเงินแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (อบรมผู้จัดทำบัญชี) 900 แห่ง 2.2 โครงการยกระดับชั้นการควบคุมภายในแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (อบรมผู้จัดทำบัญชีและคณะกรรมการ) 616 แห่ง 2.3 โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กลุ่มเสริมสร้างความเข้มแข็ง) 265 คน 3. สอบบัญชีประจำปี (ถ้าอยู่ในข่ายที่สามารถสอบบัญชีได้)

5 4. กลุ่ม อาจถูกสั่ง เลิก/ต้อง เลิกตาม กฎหมาย
เป้าประสงค์ : สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรมีความมั่นคงทางการ เงิน เข้มแข็ง และพึ่งพาตนเองได้ 3. กลุ่มตั้ง ใหม่ แผนงาน/โครงการ ปี 2560 1. วางระบบบัญชีและการควบคุมภายใน 2. เสริมสร้างความพร้อมแก่สหกรณ์ที่ตั้งใหม่ - โครงการเสริมสร้างความรู้พื้นฐานด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (อบรมผู้จัดทำบัญชี และคณะกรรมการ) 200 แห่ง 3. สอบบัญชีประจำปี (ถ้าอยู่ในข่ายที่สามารถสอบบัญชีได้) 4. กลุ่ม อาจถูกสั่ง เลิก/ต้อง เลิกตาม กฎหมาย แผนงาน/โครงการ ปี 2560 ติดตามความเคลื่อนไหวของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (หากต้องฟื้นฟูนำเข้าสู่กระบวนการของกลุ่มที่ 2) 5. วิสาหกิจ ชุมชน แผนงาน/โครงการ ปี 2560 โครงการวิสาหกิจชุมชน (วางรูปแบบและสอนแนะการจัดทำบัญชี) จำนวน 385 แห่ง

6 เป้าประสงค์ : เกษตรกรสามารถจัดทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็นอย่าง สม่ำเสมอ
เป้าประสงค์ : เกษตรกรสามารถจัดทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็นอย่าง สม่ำเสมอ กลยุทธ์ : นำคุณค่าการจัดทำบัญชีสู่เกษตรกรอย่างยั่งยืน เกษตรกรทั่วไป 1. โครงการส่งเสริมการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ แก่เกษตรกร 2. โครงการพัฒนาเกษตรกรให้ทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น 3. โครงการพัฒนาเกษตรกรให้ใช้ข้อมูล ทางบัญชีอย่างยั่งยืน ทำบัญชีต้นทุนอาชีพได้ สอนแนะนำการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ เกษตรกรทำบัญชีได้ ใช้บัญชีเป็นอย่างยั่งยืน ทำบัญชีได้และ ใช้ข้อมูลทางบัญชี เป็นประจำสม่ำเสมอ ทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น 9,000 คน ใช้ข้อมูลทางบัญชีได้ 15,000 คน ทำบัญชีต้นทุนอาชีพได้ 200,000 คน เกษตรกรในพื้นที่แปลงใหญ่ 4. โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560 ทำบัญชีได้และ ใช้ข้อมูลทางบัญชี เป็นประจำสม่ำเสมอ ใช้ข้อมูลทางบัญชีได้ ทำบัญชีต้นทุนอาชีพได้ เกษตรกรทำบัญชีได้ ใช้บัญชีเป็นอย่างยั่งยืน ทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น ทำบัญชีต้นทุนอาชีพได้ สอนแนะนำการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ 21,700 คน

7 เป้าประสงค์ : เกษตรกรสามารถจัดทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็นอย่าง สม่ำเสมอ
เป้าประสงค์ : เกษตรกรสามารถจัดทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็นอย่าง สม่ำเสมอ กลยุทธ์ : สร้างความตระหนักรู้ประโยชน์การจัดทำบัญชีแก่เกษตรกร - โครงการสร้างและพัฒนาศักยภาพครูบัญชีประจำศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (พัฒนาศักยภาพครูบัญชีประจำศูนย์) 882 ศูนย์ กลยุทธ์ : ส่งเสริมการจัดทำบัญชีแก่กลุ่มเป้าหมายตามโครงการพระราชดำริ จำนวนทั้งสิ้น 14,423 คน 3.1 โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (นักเรียน/ผู้ปกครอง/ครูบัญชีเยาวชน) 1,905 คน 3.2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านบัญชีในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน (กรรมการกลุ่ม/ผู้จัดทำบัญชีกลุ่ม/ สมาชิกในพื้นที่โครงการ/เกษตรกร/นักเรียน) 3,500 คน 3.3 โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพประชาชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (กรรมการกลุ่มอาชีพ) 190 แห่ง 3.4 โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (เกษตรกรและนักเรียน) 3,728 คน 3.5 โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (เกษตรกรและนักเรียน) 2,400 คน 3.6 โครงการศิลปาชีพ (เกษตรกรและนักเรียน) 2,000 คน 3.7 โครงการหลวง (เกษตรกรและนักเรียน) 700 คน 3.8 โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (เกษตรกร เยาวชน นักเรียนและประชาชนกลุ่มเป้าหมาย) 308 ครั้ง

8 ภายใน 3 วัน จากวันที่ได้รับโอนงบประมาณ
แผนปฏิบัติการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ช่วงเวลา เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 1 – 21 ส.ค. 59 - ทบทวนภารกิจในความรับผิดชอบ เพื่อกำหนดเป้าหมาย/แผนงาน ที่สนับสนุน/ผลักดันวิสัยทัศน์กรมฯ ทุกหน่วยงาน ส.ค. 59 - สัมมนาเครือข่ายแผนงานเพื่อกำหนดเป้าหมายราย สตส./สตท. เป็นรายสหกรณ์หรือรายคน สผค. ส.ค. 59 - เสนอแผนงาน/โครงการที่ต้องใช้งบประมาณ ปี 2560 หน่วยงานในส่วนกลาง ส.ค. 59 - บันทึกและยืนยันเป้าหมายภาพรวมของ สตส. และ สตท. ผ่านระบบบริหารงานงบประมาณ (CAD_E-BUDGETING) สตส. / สตท. ส.ค. 59 - ตรวจสอบและยืนยันเป้าหมายในภาพรวมของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กลุ่มนโยบายและแผน 5 – 6 ก.ย. 59 - เสนอแผนปฏิบัติงานรายเดือนตามเป้าหมายที่กรมฯ ยืนยันแล้ว สตส./ สตท. 7 – 9 ก.ย. 59 - จัดทำแผนการทำงานรายเดือน/รายไตรมาส กลุ่มวิเคราะห์งบประมาณ 12 – 15 ก.ย. 59 - บันทึกแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณในระบบของ สงป. 15 ก.ย. 59 - เสนอแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายเดือน/ รายไตรมาส ต่อ สงป. 16 – 23 ก.ย. 59 - กำหนดเกณฑ์การจัดสรร เสนอ อตส. พิจารณา และเตรียมการจัดสรร งบประมาณตามหลักเกณฑ์ที่ อตส. เห็นชอบแล้วให้ สตท./สตส. ต.ค. 59 - สงป. แจ้งการโอนงบประมาณให้หน่วยงาน ภายใน 3 วัน จากวันที่ได้รับโอนงบประมาณ - เสนอ อตส. อนุมัติงบประมาณ


ดาวน์โหลด ppt ผลการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 เบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google