ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ
Advertisements

Yamaha Electrics Co.,Ltd.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
Report การแข่งขัน.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
การป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองแห่งชาติ
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
สมรรถนะของข้าราชการ กลุ่มงานบริการประชาชน ด้านสุขภาพและสวัสดิการ
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
แนวทางการขับเคลื่อน Thailand 4.0 ของรัฐบาล.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
รายงานการประเมินตนเอง
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
Line Manager is Leader.
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 29 พ.ย.61
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระบวนการหนังสือราชการ สำนักโรคติดต่อทั่วไป
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
การฝึกปฏิบัติตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามแนวทาง SEPA สำหรับปี 2554
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน เพื่อสนับสนุนกรมอนามัยก้าวสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูง ตามแนวทาง PMQA/PMQA 4.0 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย 25 มกราคม 2562

องค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization : HPO) องค์กรที่มีขีดความสามารถในการเปลี่ยนแปลง มีระบบบริหารจัดการที่ดี นำเสนอคุณค่าของกระบวนการทำงาน/ผลงานอย่างต่อเนื่อง มุ่งเน้นผลลัพธ์ มีนวัตกรรมและมีผลการดำเนินงานเป็นเลิศ เป็นองค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม หน่วยงานภาครัฐที่เป็นระบบราชการ 4.0 1. มีการทำงานอย่างเปิดกว้างและเชื่อมโยงถึงกัน (Open & Connected Government) 2. มีการทำงานโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen - Centric Government) 3. เป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High Performance Government) ปัจจัยหลักสำคัญ คือ 1. การสานพลังทุกภาคส่วน (Collaboration) 2. การสร้างนวัตกรรม (Innovation) 3. การปรับเข้าสู่การเป็นดิจิทอล (Digitization/Digitalization)

หลักคิด  เพื่อให้เกิดการดำเนินงานโดยใช้เครื่องมือ PMQA และ AAIM [PMQA คือเครื่องมือคุณภาพ และ AAIM คือ สมรรถนะหลักขององค์การและบุคคล (Core Competency)] ทั่วทั้งองค์การ ....... การกำหนด Methodology กลาง  เพื่อประเมินผลกระบวนการทำงาน (Process) .....Process ดี จะส่งผลให้ได้ผลลัพธ์ที่ดี  เพื่อทราบปัญหา อุปสรรค ปัจจัยความสำเร็จ ......ทราบโอกาสในการ ปรับปรุง (Opportunity for Improvement : OFI)  เผยแพร่/ขยายรูปแบบ Best Practice ไปยังหน่วยงานอื่นๆ

วิธีการประเมินผล 1. ประเมินจากคะแนนของตัวชี้วัดทั้งหมดที่หน่วยงานลงนามคำรับรองฯ กับกรม (หน่วยงานวิชาการ 9 ตัวชี้วัด หน่วยงานสนับสนุน 7 ตัวชี้วัด ไม่นับตัวชี้วัดที่ 2.4) 2. คิดคะแนนแบบอิงกลุ่มโดยเปรียบเทียบภายในกลุ่มของตนเอง แบ่งกลุ่มหน่วยงานเพื่อใช้ในการประเมินเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) หน่วยงานส่วนกลางสายวิชาการ (ส่งเสริมสุขภาพ) +สำนักผู้ทรงฯ +ศทป. รวม 9 หน่วย 2) หน่วยงานส่วนกลางสายวิชาการ (อนามัยสิ่งแวดล้อม) รวม 5 หน่วย 3) หน่วยงานส่วนกลางสายสนับสนุน (ยกเว้น สขรส.) รวม 8 หน่วย 4) ศอ.1-12 + ศอช. + สสม. รวม 14 หน่วย 3. ให้น้ำหนัก - ขั้นตอนที่ 1-3 (Process) เท่ากับ 2 - ขั้นตอนที่ 4-5 (output/outcome) เท่ากับ 1 4. หน่วยงานไม่ต้องจัดทำ SAR Report และ Special Report รวมทั้งไม่ต้องแนบ หลักฐานใดๆ ในระบบ DOC

ตัวอย่างวิธีการประเมินให้คะแนน 1 รวมคะแนนที่เจ้าภาพประเมิน โดยรวมแต่ละขั้นตอนของทุกตัวชี้วัด(หน่วยงานวิชาการ 9 ตัวชี้วัด หน่วยงานสนับสนุน 7 ตัวชี้วัด) ใน 1 ตัวชี้วัดจะมี 5 ขั้นตอน แต่ละขั้นตอนคะแนนเต็ม 1 คะแนน คะแนนรวมในแต่ละขั้นตอน จะไม่เกิน 9 คะแนนสำหรับหน่วยงานวิชาการ และไม่เกิน 7 คะแนนสำหรับหน่วยงานสนับสนุน ตย.หน่วยงาน A เกณฑ์การประเมิน คะแนนตัวชี้วัด รวมคะแนน (คะแนนเต็ม 9 คะแนน) ตชว.ที่ 1 ตชว.ที่ 2 ตชว.ที่ 3 ตชว.ที่ 4 ตชว.ที่ 5 ตชว.ที่ 6 ตชว.ที่ 7 ตชว.ที่ 8 ตชว.ที่ 9 ขั้นตอนที่ 1 1 0.5 0.2 0.1 6.8 ขั้นตอนที่ 2 0.3 5.5 ขั้นตอนที่ 3 0.9 6.3 ขั้นตอนที่ 4 0.8 7.4 ขั้นตอนที่ 5 7.9

ตัวอย่างหน่วยงาน A B C D E 2 คะแนนของทุกหน่วยงาน ตัวอย่างหน่วยงาน A B C D E เกณฑ์การประเมิน หน่วยงาน/คะแนน A (9 ตชว.) B C D E ขั้นตอนที่ 1 6.8 9 5 ขั้นตอนที่ 2 5.5 8 6 5.6 ขั้นตอนที่ 3 6.3 8.5 7 4.5 6.5 ขั้นตอนที่ 4 7.4 4 2.5 ขั้นตอนที่ 5 7.9

เกณฑ์การประเมินขั้นตอนที่ 3 นำคะแนนขั้นตอนที่ 1,2,3,4,5 มาจัดเป็น 5 ระดับ เพื่อใช้ในการประเมินให้คะแนนหน่วยงานแบบอิงกลุ่ม 3 เกณฑ์การประเมินขั้นตอนที่ 3 ระดับคะแนน ช่วงคะแนน 1 4.50 - 5.29 2 5.30 - 6.09 3 6.10 - 6.89 4 6.90 - 7.69 5 7.70 - 8.50 เกณฑ์การประเมินขั้นตอนที่ 1 ระดับคะแนน ช่วงคะแนน 1 5.00 - 5.79 2 5.80 - 6.59 3 6.60 - 7.39 4 7.40 - 8.19 5 8.20 - 9.00 เกณฑ์การประเมินขั้นตอนที่ 4 ระดับคะแนน ช่วงคะแนน 1 2.50 - 3.79 2 3.80 - 5.09 3 5.10 - 6.39 4 6.40 - 7.69 5 7.70 - 9.00 เกณฑ์การประเมินขั้นตอนที่ 2 ระดับคะแนน ช่วงคะแนน 1 5.50 - 5.99 2 6.00 - 6.49 3 6.50 - 6.99 4 7.00 - 7.49 5 7.50 - 8.00 เกณฑ์การประเมินขั้นตอนที่ 5 ระดับคะแนน ช่วงคะแนน 1 4.00 - 4.99 2 5.00 - 5.99 3 6.00 - 6.99 4 7.00 - 7.99 5 8.00 - 9.00

นำคะแนนของหน่วยงาน (ในข้อ 2) มาเทียบกับตารางคะแนน 5 ระดับ (ในข้อ 3) เพื่อประเมินให้คะแนนหน่วยงานใหม่แบบอิงกลุ่ม 4 เกณฑ์ หน่วยงาน/คะแนน A B C D E ขั้นตอนที่ 1 6.8 9 5 เกณฑ์การประเมินขั้นตอนที่ 1 ระดับคะแนน ช่วงคะแนน 1 5.00 - 5.79 2 5.80 - 6.59 3 6.60 - 7.39 4 7.40 - 8.19 5 8.20 - 9.00 เกณฑ์ หน่วยงาน/คะแนน A B C D E ขั้นตอนที่ 1 3 5 1

5 คิดคะแนนรวมของหน่วยงาน โดยคะแนนรวมขั้นตอนที่ 1-3 ให้น้ำหนัก 2 และคะแนนรวมขั้นตอนที่ 4-5 ให้น้ำหนัก 1 เกณฑ์ หน่วยงาน/คะแนน A B C D E ขั้นตอนที่ 1 3 5 1 ขั้นตอนที่ 2 2 ขั้นตอนที่ 3 4 รวม 7 15 10 คะแนนรวม x 2 14 30 6 20 รวมคะแนนขั้นตอนที่ 1-3 แล้วคูณด้วย 2 เกณฑ์ หน่วยงาน/คะแนน A B C D E ขั้นตอนที่ 4 4 2 5 1 ขั้นตอนที่ 5 รวม 8 3 7 10 6 รวมคะแนนขั้นตอนที่ 4-5 6 รวมคะแนน 5 ขั้นตอนของหน่วยงาน   หน่วยงาน A B C D E คะแนนรวม ขั้นตอนที่ 1-3 14 30 6 20 ขั้นตอนที่ 4-5 8 3 7 10 รวม 22 33 21 16 26 คะแนนเต็ม 40 คะแนน

นำคะแนนรวมของทุกหน่วยงานมาคำนวณเพื่อให้ได้คะแนนเต็มเท่ากับ 5 คะแนน โดยใช้วิธีการคำนวณแบบบัญญัติไตรยางค์ 7 ตัวอย่างวิธีการคำนวณ คะแนนเต็ม 40 คะแนน = 5 คะแนน ถ้าคะแนน 22 คะแนน = 22 x 5 = 2.7500 คะแนน 40 สรุปคะแนนรวมของทุกหน่วยงาน   หน่วยงาน/คะแนน A B C D E คะแนนรวม ขั้นตอนที่ 1-3 14 30 6 20 ขั้นตอนที่ 4-5 8 3 7 10 รวม 22 33 21 16 26 คิดคะแนนเต็ม ที่ 5 คะแนน 2.7500 4.1250 2.6250 2.0000 3.2500

จบการนำเสนอ ....ขอบคุณค่ะ