การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รองศาสตราจารย์ ชัยยศ สันติวงษ์
Advertisements

Strategic management MBA Rajaphat Chiangmai University
Strategic management Business Concept Business Model
ครั้งที่ 2 วันที่ 7 มิถุนายน 2556
Strategic management Internal Environment
Lesson learned 3 มีนาคม 2556.
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
1 คต ๔๔๑ สรุปการจัดการ โครงการซอฟต์แวร์ คต ๔๔๑ สรุปการจัดการ โครงการซอฟต์แวร์ Royal Thai Air Force Academy : RTAFA Royal Thai Air Force Academy : RTAFA.
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1 1 การพัฒนาภาวะผู้นำ กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง อนุชิต ฮุนสวัสดิกุล สำนักงาน ก.พ.ร.
1 การวิเคราะห์ งาน Job Analysis. INDM0419 Industrial HRM2 ความหมายของการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งาน คือ กระบวนการที่มีระบบใน การกำหนดทักษะ หน้าที่ และความรู้ที่
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
Strategy Map วิสัยทัศน์ : “เป็นองค์การที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการและคุ้มครองสิทธิการถือครองที่ดินของรัฐและประชาชน มุ่งเน้นการให้บริการโดยบริหารจัดการที่ดี
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
Human Resource Management การจัดการทรัพยากรมนุษย์
ระบบสารสนเทศในงานบริหารงานบุคคล และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Knowledge Audit and Analysis
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การจัดการองค์ความรู้
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
นำเสนอโดยนายอนุสรณ์ โชติชื่น และนายสมศักดิ์ พัดพรม
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
การจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) และตัวชีวัดระดับบุคคล
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
กฎหมายข้าราชการพลเรือน ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย สำนักงาน ก.พ.
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
แนวโน้มประเด็นสำคัญของ การจัดการทรัพยากรมนุษย์
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
Techniques Administration
กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
สถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรม
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรบุคคล
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ขอบเขตการบรรยาย การนำทฤษฎี ERM สู่การปฏิบัติ
วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Management
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโครงการ
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
ยุทธศาสตร์ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์ บทที่ 4. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร

การจัดการเชิงกลยุทธ์ “กลยุทธ์ ” หมายถึง วิธีการดำเนินงานที่มั่นใจได้ว่าจะนำไปสู่ ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์การ “การจัดการเชิงกลยุทธ์ ” หมายถึง กระบวนการที่ต่อเนื่องและมีการทบทวนการเวียนไปมาตลอดเวลาเพื่อ ให้องค์กรโดยรวมสามารถดำรงอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม

การจัดการเชิงกลยุทธ์ “การจัดการเชิงกลยุทธ์ ” หมายถึง กระบวนการต่อเนื่องในการกำหนดภารกิจและเป้าประสงค์ขององค์กรภายใต้ บริบทของสิ่งแวดล้อมภายนอกขององค์กร การกำหนด กลวิธีที่เหมาะสม การปฏิบัติงานตามกลวิธีที่กำหนดไว้ การใช้อำนาจหน้าที่ในการควบคุมกลยุทธ์ เพื่อทำให้มั่นใจว่า กลวิธี ขององค์กที่นำมาใช้ สามารถนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้

ลักษณะสำคัญขององค์กร เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร มาตรา 8-9, 12-20, 22, 33-34 มาตรา 11 , 26-28, 33-34, 47-49 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล มาตรา 8, 27-28 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ มาตรา 9, 20, 22, 45-46 มาตรา 8, 24-25, 29-32, 41-42 มาตรา 8, 10, 21, 23-25, 30-32, 35-38 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ มาตรา 11, 26, 39-40, 43-44

การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลัก เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ ก. กระบวนการจัด ทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอดแผน ปฏิบัติการไปสู่ การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ

กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ ส่วนราชการมีกระบวนการในการวางแผนยุทธศาสตร์โดยรวมอย่างไร ให้ระบุ ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้องที่สำคัญ กรอบเวลาที่ใช้ในการวางแผนระยะสั้นและระยะยาว กิจกรรมในกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์

กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ ส่วนราชการได้นำปัจจัยต่อไปนี้มาวางแผนยุทธศาสตร์อย่างไร ความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพการแข่งขัน นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค

เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์หลักมีอะไรบ้าง ส่วนราชการให้ความสำคัญกับความท้าทายต่อองค์กรอย่างไร

การถ่ายทอดกลยุทธ์เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ วิธีการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ แผนปฏิบัติการที่สำคัญของส่วนราชการ แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคลที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่สำคัญที่ใช้ติดตามความก้าวหน้าของแผนปฏิบัติการมีอะไรบ้าง

การคาดการณ์ผลการดำเนินการ เป้าหมายการดำเนินงานของแผนปฏิบัติการตามตัวชี้วัดมีอะไรบ้างและเป็นเช่นใด เมื่อเปรียบเทียบกับ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ผลการดำเนินงานที่คาดไว้ของคู่แข่ง ระดับเทียบเคียงที่สำคัญ

ความหมาย เป็นกระบวนการซึ่งรวมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกัน 3 ประการ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Analysis) การกำหนดกลยุทธ์ (Strategy Formulation) การปฏิบัติตามกลยุทธ์และการควบคุม(Strategy Implementation and Control)

ความท้าทายในโลกธุรกิจ การกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Accelerating rates of Change) การแข่งขันที่มากขึ้น (Increasing Competition) ความเป็นโลภาภิวัตน์ของธุรกิจ (Globalization of Business) การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี (Technological Change)

ความท้าทายในโลกธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงลักษณะของหน่วยแรงงาน (Changing Nature of the Work Force) การขาดแคลนทรัพยากร (Resource Shortages) การเปลี่ยนแปลงจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมที่ต้องใช้ความรู้ (Transition from Industrial to Knowledge Society)

ความท้าทายในโลกธุรกิจ ภาวะเศรษฐกิจและสภาพตลาดที่ไม่แน่นอน (Unstable Economic and Market Conditions) ความต้องการของลูกค้าเพิ่มขึ้น (Increasing Demands of Constituents) ความสลับซับซ้อนของสภาพแวดล้อม ในการบริหาร เชิงกลยุทธ์ (Complexity of the Strategic Management Environment)

ประโยชน์จากการบริหารเชิงกลยุทธ์ ช่วยปรับปรุงการสื่อสารให้ดีขึ้น (Improved Communication) มีผลิตผลที่ดี (Great Productivity) ช่วยให้เกิดความเข้าใจในการทำงาน (Increased Understanding) ทำให้กลยุทธ์มีประสิทธิผลมากขึ้น (More Effective Strategies)

ประโยชน์จากการบริหารเชิงกลยุทธ์ มีพันธะสัญญา (Enhanced Commitment) ผลิตผลสูงขึ้น (Higher Productivity) ทำให้ธุรกิจมีอำนาจ มีความคิดริเริ่ม การคาดการณ์ล่วงหน้า (Allow Firm to Influence, Initiate, and anticipate) ทำให้ธุรกิจมีการวางแผนไว้ล่วงหน้าแทนที่จะแก้ปัญหาภายหลัง (Be Proactive rather than Reactive)

ความสำคัญในการบริหารเชิงกลยุทธ์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ เกี่ยวข้องกับผู้ที่ได้ผลประโยชน์จากองค์การ นำมาซึ่งขอบเขตหลายช่วงเวลา เกี่ยวข้องทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล

การบริหารบุคคลที่เน้น การบริหารงานบุคคลที่เป็นหุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Partner) ในการบริหารองค์การ ยุทธศาสตร์ ขององค์กร การบริหารบุคคลที่เน้น กระบวนการและ กฎระเบียบ (แบบเดิม) การบริหาร ตามระบบ แบบเดิม การบริหารบุคคล เชิงยุทธศาสตร์ (เป็นหุ้นส่วน) สัดส่วนความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ในฐานะเป็น Strategic Partner ปรับเปลี่ยนไปจาก “เดิม” สู่ “แบบใหม่”

การพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลจาก “กระบวนการ” สู่ “ยุทธศาสตร์” การพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลจาก “กระบวนการ” สู่ “ยุทธศาสตร์” 1. การมองการบริหารทรัพยากรบุคคลเป็น กรอบภารกิจงานสนับสนุน (Administrative) 2. การปรับเปลี่ยนที่มองกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้างผลงาน (Productivity) 3. กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Human Resource Management)

กรอบความคิดเพื่อวิเคราะห์การบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์ กรอบความคิดใน 2 มิติ คือ 1. มิติเชิงยุทธศาสตร์ขององค์กร 2. มิติกระบวนการจัดการทรัพยากรบุคคล

มิติเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Concern)

คำถามที่ท้าทายผู้บังคับบัญชายุคใหม่ 1.ทรัพยากรบุคคลขององค์กร มีความสำคัญมากขึ้นหรือไม่ เพียงใด อย่างไร ในปัจจุบันที่เรียกร้องถึงความสัมฤทธิผลที่ยั่งยืนขององค์กร 2.จะมีวิธีการใดที่จะให้ผู้บังคับบัญชาให้ความสำคัญกับทรัพยากรบุคคลขององค์กรให้มากขึ้น รวมถึงบทบาทใหม่ที่ควรจะเป็นของผู้บริหารทรัพยากรบุคคล 3.จะมีภารกิจอะไรที่ผู้บังคับบัญชาสามารถเชื่อมโยงไปถึง (Stakeholder’s expectation) 4.ผู้บังคับบัญชาจะมีกลยุทธ์อย่างไร ที่จะบริหารทรัพยากรบุคคลเชื่อมโยงไปถึงยุทธศาสตร์ขององค์กร

แนวทางดำเนินการตามกรอบความคิดวิเคราะห์ HR เชิงยุทธศาสตร์ ทำการศึกษาวิเคราะห์องค์กรและยุทธศาสตร์ที่เชื่อมโยงปัจจัยภายนอก (เช่นเดียวกับ ผู้บริหารระดับสูงขององค์กร) ทำการศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพ จุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรค ข้อจำกัด และโอกาสต่าง ๆ ที่องค์กรมี ทบทวนพันธกิจ วิสัยทัศน์ และเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ จะต้องร่วมกันเป็นทีมกับผู้บริหารระดับสูงกำหนด (Organizational Performance Gap) ร่วมกับผู้บริหารระดับสูง กำหนดพันธกิจ วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ขององค์กรใหม่

แนวทางดำเนินการตามกรอบความคิดวิเคราะห์ HR เชิงยุทธศาสตร์ การปรับกระบวนการทัศน์ และวัฒนธรรมการปฏิบัติงานของทรัพยากรบุคคล เป็นรายคน เป็นกลุ่ม/ทีม และทั่วองค์กร ผู้บริหารทรัพยากรบุคคลเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) และเป็นผู้สนับสนุนส่งเสริม (HRChampion)สร้างความเป็นเอกลักษณ์ (Brand) ความเข้มแข็งให้กับองค์กร ประสานหน่วยต่าง ๆ ภายในองค์กร เพื่อสรรหาทรัพยากรบุคคลที่เหมาะสมเข้ามาสู่องค์กร จำเป็นต้องรู้ระบบ และวิธีการบริหารคุณภาพงานทั่วทั้งองค์กร

สรุป การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์มี 2 ส่วนคือ การจัดทำกลยุทธ์และการปฏิบัติตามกลยุทธ์ ความสำเร็จของกลยุทธ์ คือ การออกแบบภาระงาน การมีอยู่และการพัฒนางาน ระบบการให้ความดีความชอบตลอดจนการประเมินการจัดการทรัพยากรมนุษย์แบบสมดุลให้สอดคล้องกับทิศทางการดำเนินงานขององค์การ