บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1 5 ข. กฎหรือข้อบังคับที่รัฐต้อง ปฏิบัติตาม ค. กฎเกณฑ์ควบคุมความ ประพฤติของบุคคล ง. กฎเกณฑ์ทางสังคม.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
การออกคำสั่งทางปกครอง
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากรและการบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
1.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การอุดหนุน งบประมาณ ให้แก่ สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน.
“ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่”
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทางการจัดตั้งและพัฒนา สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
พงษ์เดช วานิชกิตติกูล
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กฎหมายว่าด้วยบริษัทจำกัด
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โดย อ.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
กลุ่มเกษตรกร.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ (ฉบับที่ 3 - 5) พ.ศ (ฉบับที่
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
อรัญ ศรีว่องไทย 6 ตุลาคม 2560
สัญญายืมเปรียบเทียบ.
อำนาจอธิปไตย 1.
สาเหตุที่ต้องมีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
อภิรัฐธรรมนูญไทย.
อำนาจสืบสวน สอบสวน (มาตรา 17-21)
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2400 (ปรับปรุง)
บทที่ 3 รูปแบบของธุรกิจขนาดย่อม
คดีฟ้องให้ประกาศใช้ผังเมืองรวม จังหวัดสระบุรี
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
หุ้นส่วนและบริษัท การเป็นหุ้นส่วน คือ การทำสัญญาระหว่างบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อทำกิจการร่วมกัน โดยประสงค์จะแบ่งปันผลกำไรที่จะพึงได้จากกิจการนั้น.
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
วิชากฎหมายล้มละลาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons) คือ ที่รวมของกลุ่มผลประโยชน์หรือทรัพย์สินของบุคคลที่ ได้รับการรับรองคุ้มครองในกฎหมายให้เป็นผู้ทรงสิทธิ-หน้าที่ในกฎหมาย (Subject of Law)

องค์ประกอบของนิติบุคคล 1.มีการรวมกันของกลุ่มผลประโยชน์หรือทรัพย์สิน

2.มีวัตถุประสงค์ที่แน่นอน ตามหลักความเป็นเฉพาะของนิติบุคคล มาตรา 66 นิติบุคคลย่อมมีสิทธิและหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ หรือกฎหมายอื่น ภายในขอบแห่งอำนาจหน้าที่ หรือวัตถุประสงค์ดังได้บัญญัติ หรือกำหนดไว้ในกฎหมาย ข้อบังคับ หรือตราสารจัดตั้ง

3.มีการจัดองค์กรเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกลุ่ม เป็นเทคนิคทางกฎหมายที่ใช้เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกลุ่ม

3.1 ตามหลักความเป็นหนึ่งเดียวของนิติบุคคล 3.1 ตามหลักความเป็นหนึ่งเดียวของนิติบุคคล การกระทำหรือนิติกรรมใดๆ ของนิติบุคคล ย่อมเป็นการกระทำเพียงหนึ่งเดียวแยกออกจากตัวบุคคลธรรมดาที่เข้ามารวมกัน ดู ป.พ.พ. มาตรา 66, 70, 76 และ 77

3.2 หลักความถาวรของนิติบุคคล การทำให้นิติบุคคลมีความถาวรต่อเนื่องแยกจากความตายของบุคคลธรรมดา ดูมาตรา 67 การตายเป็นสิทธิพึงมีพึงได้ของบุคคลธรรมดาเท่านั้น

3.3 หลักการจัดองค์กร กลุ่มผลประโยชน์ที่เข้ามารวมกันไม่สามารถจะแสดงออกเองได้ จึงต้องแสดงออกโดยผ่านบุคคลธรรมดา หลักนี้ปรับใช้ได้กับนิติบุคคลทุกประเภทแม้กระทั่งรัฐ ดูมาตรา 66, 70, 76 และ 77

ทฤษฎีที่อธิบายความเป็นนิติบุคคล 1.ทฤษฎีที่ถือว่านิติบุคคลเป็นสิ่งสมมุติ 2.ทฤษฎีนิติบุคคลโดยสภาพ ที่ถือว่านิติบุคคล เป็นความเป็นจริงที่พิสูจน์ได้

ประเภทของนิติบุคคล 1. นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน 1. นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน 2. นิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน

1. นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน 1. นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน มีอำนาจพิเศษที่เรียกว่า อำนาจมหาชน ออกกฎหมายหรือออกคำสั่งได้ฝ่ายเดียว บังคับได้โดยไม่ต้องฟ้องศาล ทรัพย์สินสาธารณย่อมได้รับการคุ้มครองพิเศษ จัดตั้งโดยกฎหมายของรัฐ

ประเภทนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน 1.1 รัฐ 1.2 องค์กรที่รับการกระจายอำนาจ ทางเขตแดน- องค์กรปกครองท้องถิ่นต่าง ๆ ทางบริการ - รัฐวิสาหกิจ การกีฬาแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยของรัฐ 1.3วัดในศาสนาพุทธ

2. นิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน 2. นิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน เกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาของบุคคล(เอกชน) ไม่มีอำนาจมหาชน ใช้วิธีดำเนินการตามกฎหมายเอกชน

ประเภทนิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจำกัด สมาคม มูลนิธิ นิติบุคคลอื่น ๆ เช่น สหกรณ์ วัดในศาสนาอื่น ๆ

สิทธิ-หน้าที่ของนิติบุคคล มีสิทธิหน้าที่ได้ใกล้เคียงกับเท่าบุคคลธรรมดา แต่มีข้อจำกัดสองประการ คือ 1. ข้อจำกัดภายใต้หลักความเป็นเฉพาะของนิติบุคคล ตามมาตรา 66 มาตรา 70 และ มาตรา 76

มาตรา 66 นิติบุคคลย่อมมีสิทธิและหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ หรือ กฎหมายอื่น ภายในขอบแห่งอำนาจหน้าที่ หรือวัตถุประสงค์ดังได้บัญญัติ หรือกำหนดไว้ในกฎหมาย ข้อบังคับ หรือตราสารจัดตั้ง

2 . ข้อจำกัดความเป็นจริงทางชีวภาพ มาตรา 67 ภายใต้บังคับมาตรา 66 นิติบุคคลย่อมมีสิทธิ และหน้าที่ เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา เว้นแต่สิทธิและหน้าที่ซึ่งโดยสภาพจะพึงมีพึงเป็นได้เฉพาะแก่บุคคลธรรมดาเท่านั้น

การจัดการ ผ่านทางผู้แทนนิติบุคคลซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา มีอำนาจตามตราสารหรือข้อบังคับของนิติบุคคล มาตรา 70 นิติบุคคลต้องมีผู้แทนคนหนึ่ง หรือหลายคน ทั้งนี้ตามกฎหมายข้อบังคับ หรือตราสารจัดตั้ง จะได้กำหนดไว้ ความประสงค์ของนิติบุคคลย่อมแสดงออกโดยผู้แทนของนิติบุคคล

- ถ้ามีผู้แทนหลายคน ให้เป็นไปตามเสียงข้างมาก เว้นแต่กฎหมาย/ข้อบังคับ/ ตราสาร จัดตั้งจะกำหนดเป็นอย่างอื่น (มาตรา 71) การเปลี่ยนแปลงผู้แทนของนิติบุคคลก็ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย/ข้อบังคับ/ตราสารจัดตั้ง แต่จะยกเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกผู้กระทำการโดยสุจริตมิได้ (มาตรา 72) ถ้าตำแหน่งว่างลง และมีเหตุอันควรเชื่อว่าการปล่อยตำแหน่งว่างไว้น่าจะเกิดความเสียหายขึ้นได้ เมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการร้องขอ ศาลจะแต่งตั้งผู้แทน ชั่วคราวได้ (มาตรา 73)

อำนาจหน้าที่ของผู้แทนนิติบุคคล  1. ดำเนินกิจการต่าง ๆ ภายใต้ขอบวัตถุประสงค์ที่กำหนดในกฎหมาย/ข้อบังคับ/ตราสารจัดตั้ง * นำหลักตัวการ-ตัวแทน มาบังคับโดยอนุโลม (มาตรา 77)

หลัก Ultra Vires : เกินขอบเขตอำนาจ) นิติบุคคล ผู้แทน บุคคลภายนอก ผู้แทนต้องทำภายใต้ขอบวัตถุประสงค์หรือขอบอำนาจ ถ้าผู้แทนทำเกินขอบเขตอำนาจ ผู้แทนต้องรับผิดชอบโดยส่วนตัว

รับผิดเป็นการส่วนตัว ธนาคาร ผู้จัดการ หลุดพ้นความรับผิด ให้กู้ยืม ผูกพัน ผู้กู้ สมบูรณ์ ให้สัตยาบัน โมฆียะ ผู้แทนต้องทำภายในขอบวัตถุประสงค์/ขอบอำนาจ ถ้าผู้แทนทำเกินขอบวัตถุประสงค์/ขอบอำนาจ ต้องรับผิดเป็นการส่วนตัว(Ultra Vires : เกินขอบอำนาจ) รับผิดเป็นการส่วนตัว

รับผิดเป็นการส่วนตัว ธนาคาร ผู้จัดการ รับผิดเป็นการส่วนตัว กิจการปั๊ม ไม่ผูกพัน ผู้ค้าส่งน้ำมัน ให้สัตยาบัน สมบูรณ์ ผู้แทนต้องทำภายในขอบวัตถุประสงค์/ขอบอำนาจ ถ้าผู้แทนทำเกินขอบวัตถุประสงค์/ขอบอำนาจ ต้องรับผิดเป็นการส่วนตัว(Ultra Vires : เกินขอบอำนาจ) โมฆียะ หลุดพ้นความรับผิด

ความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคล ถ้าผู้แทนนิติบุคคลทำไปภายในขอบวัตถุประสงค์ และกระทำไปในหน้าที่ ผู้แทนนิติบุคคลไม่ต้องรับผิดในฐานะส่วนตัว แต่นิติบุคคลต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอก (ตามหลักความเป็นเอกภาพของนิติบุคคล) ถ้ากระทำไปเกินขอบวัตถุประสงค์ ผู้แทนนิติบุคคลต้องรับผิดเป็นการส่วนตัว ไม่ถือว่านิติบุคคลเป็นผู้กระทำ * ข้อสำคัญ ต้องดูว่าเป็นการกระทำในหน้าที่และภายในขอบวัตถุประสงค์หรือไม่

2. แต่ถ้าประโยชน์ได้เสียของนิติบุคคลขัดกับประโยชน์ได้เสียกับผู้แทนนิติบุคคล ผู้แทนนิติบุคคลจะเป็นผู้แทนในกิจการอันนั้นไม่ได้ (มาตรา 74)

ความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคล ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น มาตรา 76  ถ้าการกระทำตามหน้าที่ของผู้แทนของนิติบุคคลหรือผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคล เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น นิติบุคคลนั้นต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายนั้น แต่ไม่สูญเสียสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาแก่ผู้ก่อความเสียหาย ถ้าความเสียหายแก่บุคคลอื่นเกิดจากการกระทำที่ไม่อยู่ในขอบวัตถุประสงค์หรืออำนาจหน้าที่ของนิติบุคคล บรรดาบุคคลดังกล่าวตามวรรคหนึ่งที่ได้เห็นชอบให้กระทำการนั้นหรือได้เป็นผู้กระทำการดังกล่าว ต้องร่วมกันรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ที่ได้รับความเสียหายนั้น

ความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคล ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น ในการดำเนินการของนิติบุคคลภายในขอบวัตถุประสงค์ จะต้องมีการกระทำทางกายภาพเพื่อให้บรรลุวัตประสงค์ของนิติบุคคลโดยกระทำผ่านทางบุคคลธรรมดาที่เป็นผู้แทนนิติบุคคล อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลภายนอกได้(ละเมิดผ่านผู้แทน)

ความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคล ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น ความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคล ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น ผู้ต้องรับผิด ผู้แทนนิติบุคคล ผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคล ได้แก่ ตัวแทนของนิติบุคคล ลูกจ้างของนิติบุคคล

ความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคล ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น ความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคล ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น ถ้าได้ทำไปในหน้าที่แล้ว ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น นิติบุคคลย่อมต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนต่อบุคคลภายนอก แต่ในระหว่างนิติบุคคลกับผู้แทน นิติบุคคลมีสิทธิไล่เบี้ยเอากับผู้แทนนิติบุคคลผู้ก่อความเสียหาย (มาตรา 76)

กรณีที่นิติบุคคลไม่ต้องรับผิด ถ้าไม่อยู่ในขอบวัตถุประสงค์หรืออำนาจหน้าที่ของนิติบุคคล นิติบุคคลไม่ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนต่อบุคคลภายนอก แต่บรรดาผู้แทนนิติบุคคลที่ได้เห็นชอบให้กระทำการนั้นหรือได้เป็นผู้กระทำการดังกล่าว ต้องร่วมกันรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (มาตรา 76 วรรค 2)

ความรับผิดของนิติบุคคล ตามหลักความเป็นเอกภาพของนิติบุคคลไม่ว่าจะเป็นการกระทำของผู้แทนนิติบุคคลหรือผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคลซึ่งหมายถึงตัวแทนของนิติบุคคล รวมถึงลูกจ้างของนิติบุคคลด้วย แล้วย่อมถือเป็นการกระทำของนิติบุคคลเพียงหนึ่งเดียว ถ้าการนั้นกระทำไปภายในขอบอำนาจและวัตถุประสงค์ของนิติบุคคล นิติบุคคลต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกทั้งทางแพ่งและทางอาญาตามมาตรา 66 และมาตรา 70

นิติบุคคลต้องรับผิดทางอาญา ในการดำเนินการของนิติบุคคลภายในขอบวัตถุประสงค์อาจจะต้องมีการกระทำการต่างๆที่เป็นการกระทำทางกายภาพเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลโดยกระทำผ่านทางบุคคลธรรมดาที่เป็นผู้แทนนิติบุคคล อาจก่อให้เกิดการกระทำที่ผิดกฎหมายอาญาทั้งโดยเจตนาหรือประมาทก็กระทำผ่านทางบุคคลธรรมดาที่เป็นผู้แทนนิติบุคคล