รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่องทางการกำกับติดตามข้อมูลจาก สปสช.
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารกองทุนผู้ป่วยนอกทั่วไป 2555 การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปผลการประชุมคณะทำงานกำหนดแนวทาง การใช้จ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการ 2nd Prevention ในผป. HT/DM
ปีงบประมาณ 2556 งบการดูแลผู้ป่วยรายโรค การเข้าถึงยา
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560
ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ (Electronic Commerce Payment System)
เครือข่ายบริการ Referral system High level Mid level First level รพศ.
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
การพัฒนางานเภสัชกรรม
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
โรงพยาบาลวังน้ำเย็น ประชากรรวม ๖๔,๓๘๐ คน UC ๔๗,๘๕๘ คน.
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัวล่วงหน้า สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป. สธ
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
CFO เขตสุขภาพที่ 2.
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
กลุ่มงานประกันสุขภาพ / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
(เครื่องมือทางการบริหาร)
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ชัยภูมิ
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 59ซึ่งเราจะทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ในเดือน มิ.ย. – ส.ค. ของทุกปี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูล base line ในปีงบ 60 และในเดือนธันวาคมนี้จะมีการปรับมาตรฐานผู้ทำการสำรวจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน.
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) ปี 2562
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท) 5.งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายการ (ได้รับ) ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 1. งบเหมาจ่ายรายหัว (ล้านบาท) 103,551.14 113,437.94 122,222.38 139,953.03 - จำนวนประชากรสิทธิ UC (ล้านคน) 47.0 47.2 47.9 48.3 - อัตราเหมาจ่ายรายหัว (บาท) 2,202.00 2,401.33 2,546.48 2,895.60 2. งบบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ (ล้านบาท) 2,983.77 2,770.85 2,997.73 2,940.06 3. งบบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ล้านบาท) 1,530.07 1,455.44 3,226.55 3,857.89 4.งบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรค Metabolic (ล้านบาท) 304.59 630.59 437.90 5. งบส่งเสริมการบริการสาธารณสุข(ล้านบาท) - บริการผู้ป่วยจิตเวช 203.62 204.48 รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท) 108,064.99 117,968.83 129,280.88 147,393.35

รูปแบบการจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ 55 เหมาจ่ายรายหัว 2,775.60 ไต HIV DM จิตเวช AE ,HC ,บริการเฉพาะ ทันตกรรมประดิษฐ์ จ่ายเพิ่มเติม (OP ผลงาน, ส่งเสริมปฐมภูมิ,ฟื้นฟู ,แพทย์แผนไทย,คุณภาพ) ตามผลงาน/โครงการ ค่าเสื่อม ม.41 , ช่วยเหลือผู้ให้บริการ จัดสรรล่วงหน้า PP ส่วนกลาง , PP Area based ฯลฯ ผู้ป่วยนอก Diff cap 929.02 บ. รพ.ต้นทุนสูง 53.80 บ. PP Cap , PP spec. , PP ทันตกรรม ผู้ป่วยใน 998.25 บ. 2

การคำนวณจัดสรรเบื้องต้นค่าบริการ OP/P&P แบบเหมาจ่ายรายหัว OP ใช้ข้อมูลประชากรสิทธิ UC ณ กรกฎาคม 2554 จัดสรรตามอัตรา Diff Cap ระดับจังหวัด P&P Expressed Demand แบบเหมาจ่ายรายหัว ใช้ข้อมูลลงทะประชากรสิทธิ UC ณ กรกฎาคม 2554 จัดสรรด้วยอัตรา 73.10 บาท:ประชากร สำหรับหน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการใหม่ใน ปีงบประมาณ 2555 หรือรับโอนประชากรจากหน่วยบริการอื่นจะมีการปรับฐานประชากรตามข้อมูลที่ได้ประสานเพิ่มเติมกับ สปสช.เขต

ค่าบริการที่ประมาณการจ่ายเบื้องต้น สป.สธ. 2555 ประกอบด้วย 5 รายการได้แก่ 1. บริการ OP ที่จ่ายแบบเหมาจ่ายตามประชากร 2. บริการ IP ทั้งบริการในเขตและนอกเขต 3. บริการ P&P-expressed demand ที่จ่ายแบบเหมาจ่ายตามประชากร และที่จ่ายตามเป้าหมายผลงาน 4. บริการทันตกรรมสร้างเสริม 5. เงินเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนสูง

การคำนวณจัดสรรเบื้องต้นค่าบริการ IP ทั้งที่ให้บริการในเขต และนอกเขต ใช้ข้อมูล adjRW ตามDRG version 4.0 ของปีงบประมาณ 2554 จำนวน 8 เดือน (ตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2554) และของปีงบประมาณ 2553 จำนวน 4 เดือน (มิถุนายน 2553 – กันยายน 2553) เพื่อประมาณการให้เป็นยอดทั้งปี ค่าบริการ IP ที่ให้บริการผู้ป่วยภายในเขตคำนวณจ่ายด้วยอัตราจ่ายต่อน้ำหนักสัมพัทธ์เบื้องต้นในอัตราที่ประมาณการได้ในแต่ละเขต (8,400 บาท/น้ำหนักสัมพัทธ์) ค่าบริการ IP ที่ให้บริการผู้ป่วยนอกเขตคำนวณจ่ายอัตรา 9,000 บาทต่อน้ำหนักสัมพัทธ์

การคำนวณจัดสรรเบื้องต้นค่าบริการ IP ทั้งที่ให้บริการในเขต และนอกเขต ขั้นที่ 1 คำนวณ Sum Adj.RW ของแต่ละเขต(ในเขต,ข้ามเขต) คำนวณ Sum Adj.RW ตามโครงสร้างอายุปชก.เขตนั้นๆ 35% คำนวณ Sum Adj.RW ตามผลงาน 4+8 เดือน 65% Sum Adj.RW ของแต่ละเขต (ในเขต = A1 – A13, ข้ามเขต = B1 – B13) Sum Adj.RW ของทุกเขต(ในเขต = A,ข้ามเขต = B) ขั้นที่ 2 คำนวณ Global budget ระดับเขต Global budget ระดับประเทศ = ปชก.UC x 1,021.60 (C ล้านบาท) หักที่จ่าย Fixed rate ของทั้งประเทศ = [(ข้ามเขต= 9,000 x B), สำรองเตียง, มาตรา 7)] (D ล้านบาท) Global budget คงเหลือ = C – D ล้านบาท Base rate ในเขตระดับประเทศ = (C – D)/A (E บาท/Adj.RW) GB ของเขต 1 = A1*E + B1*9,000 + สำรองเตียงเขต1 + มาตรา 7 เขต1

การคำนวณจัดสรรเบื้องต้นค่าบริการ IP ทั้งที่ให้บริการในเขต และนอกเขต ขั้นที่ 3 คาดการณ์อัตราจ่ายภายในเขตเมื่อเทียบกับข้อมูลจริง การคำนวณใช้เฉพาะข้อมูลผลงานจริง 4 + 8 ของปี 54 100% วงเงินจ่ายในเขต เขต1 =GB เขต1 – (ข้ามเขต x 9,000+สำรองเตียงเขต1+มาตรา7เขต1+กันตามจ่ายคุณภาพ 15 บาท/ปชก.* ปชก.เขต1) Base rate เขต1 = วงเงินในเขต เขต1 / Sum Adj.RW ในเขต เขต1 ปรับอัตราจ่ายในเขตให้เหมาะสมเพราะการคำนวณ ใช้ข้อมูลที่ไม่ได้ Blow การคำนวณภายใต้เงื่อนไข Growth rate = 0% ผลงานจาก DRG v4 เป็น DRG v5 งบขาลง 2,895 บาท/ปชก. ปชก.สำนักงบปี 55 เท่ากับ 48.333 ล้านคน

การคำนวณจัดสรรค่าบริการ Expressed Demand ที่จ่ายตามเป้าหมายผลงาน และทันตกรรมสร้างเสริม ค่าบริการ P&P ที่จ่ายตามเป้าหมายผลงานใช้วงเงินจำนวน 58.86 บาท/ปชก.ไทย คำนวณจ่ายตามเป้าหมายผลงาน โดยใช้ฐานประชากร ณ 1 กรกฎาคม 2554 (คำนวณโดยกองทุน P&P) ค่าบริการทันตกรรมสร้างเสริม ใช้วงเงินจำนวน 13.73 บาทต่อหัว คำนวณจ่ายตามหัวปชก.ไทยทั้งหมดโดยใช้ฐานประชากร ณ 1 กรกฎาคม 2554 (คำนวณโดยกองทุน P&P)

หลักเกณฑ์การจ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง ใช้ผลการศึกษาสมการต้นทุน (cost function) ของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วย บริการ (CUP) ที่มีโรงพยาบาลขนาด 10 -120 เตียง และข้อมูลงบการเงินของหน่วยบริการและ เครือข่ายหน่วยบริการ โดยประยุกต์จ่ายตามตัวแปรของสมการต้นทุน ดังนี้ 1. เปรียบเทียบผลการคำนวณตาม cost function กับการคำนวณจ่ายค่าบริการผู้ป่วยนอกทั่วไปตาม Diff Cap หากมากกว่า ให้จ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูงเท่ากับผลต่างระหว่างผลการคำนวณcost function กับ Diff Cap 2. ปรับให้ทุกCUPได้รับงบ OP All ปี 2555 (OP Diff Cap + cost function ) มากกว่า ปี 2554 อย่างน้อย 4.72% 3. ปรับเพิ่มกรณีภาพรวมของงบประมาณระดับCUP (เฉพาะค่าบริการOP , IP , P&P และงบเพิ่ม สำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง) หลังปรับลดค่าแรงได้ไม่น้อยกว่าการจ่ายล่วงหน้าของปี 2554 (ต้องผ่านความ เห็นชอบของอนุการเงินการคลัง)

หลักเกณฑ์การจ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง (ต่อ) 4. สำหรับจังหวัดที่มีประชากรลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าน้อยกว่า 300,000คน ปรับให้ ภาพรวมของงบประมาณระดับจังหวัด (เฉพาะค่าบริการผู้ป่วยในทั่วไป ผู้ป่วยนอกทั่วไป งบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุน คงที่สูง และค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค) หลังปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐได้ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของทุก จังหวัดหักหนึ่งส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ค่าเฉลี่ย-1SD) 5. คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง เป็นผู้พิจารณาสำหรับการจ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มี ต้นทุนคงที่สูงให้หน่วยบริการเป้าหมายกรณีที่หน่วยบริการเป้าหมายมีภาระในการสงเคราะห์การให้บริการประชากรอื่นๆ เช่น หน่วยบริการในพื้นที่ติดชายแดนของจังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน สระแก้ว หรือกรณีอื่นๆ

แนวทางการปรับลดค่าแรง สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. ให้หักเงินเดือนเป็นภาพรวมใน ระดับจังหวัด กรณีที่อาจมีการเกลี่ยระหว่างจังหวัด ให้มีคณะทำงานร่วมระหว่าง สปสช. และ สป.สธ. เป็นผู้พิจารณาโดยให้คำนึงถึงปัจจัยที่มีผลต่อรายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการตามความเหมาะสม ให้ สปสช.สาขาจังหวัดเป็นผู้เกลี่ยการหักเงินเดือนระหว่าง CUP ภายในจังหวัด อนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง มีข้อเสนอแนะว่าควรจะปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐแต่ละจังหวัดไม่เกินค่าเฉลี่ยเงินเดือนต่อหัวประชากร+1SD

แนวทางการปรับลดค่าแรง สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. (ตามข้อเสนออนุกรรมการ CFO) 1. ปรับให้จังหวัดที่มีเงินเดือนต่อหัวเกินค่าเฉลี่ยเงินเดือนต่อหัว+1SD ให้เหลือการหักเงินเดือนเท่ากับค่าเฉลี่ยเงินเดือนต่อหัว+1SD ซึ่งจะได้จำนวนเงินที่ต้องหักจากจังหวัดอื่นๆ มาเพิ่ม (เกลี่ยเงินเดือนระหว่างจังหวัด) 2. คำนวณหักเงินเดือนเพิ่มจากจังหวัดอื่นๆ ให้ได้จำนวนเท่ากับผลที่ได้จากข้อ 1 โดยจังหวัดที่มีเงินเดือนต่อหัวสูงให้หักเพิ่มน้อยและจังหวัดที่มีเงินเดือนต่อหัวต่ำให้หักเพิ่มมาก (เกลี่ยการหักเงินเดือนช่วยแบบ reverse)

เกณฑ์การจัดสรรเงิน สปสช.ปี 2555  กันบริหาร สสจ.ไม่เกินร้อยละ 10 จากยอดรวม ทั้งหมด ตัดเงินเดือนระดับจังหวัด (ไม่เกินค่าเฉลี่ยเงินเดือน ต่อหัวผู้มีสิทธิ +1SD) ปรับเกลี่ยได้เฉพาะเงินเดือน&PPE specific (non uc)

การบริหารงบเหมาจ่ายรายหัว สกลนคร ปี 2555 1. ตัดเงินเดือนระดับ CUP (ตัวเลข สปสช./จ.18 ) 2. ไม่หักเงินวัคซีนพิษสุนัขบ้า (ใช้วัคซีนคงเหลือ 54) 3. เงินเดือนนักเรียนทุน+ค่าตอบแทนฉบับที่ 6 นร.ทุน ( CUP รับผิดชอบ) 4. กันไว้ สสจ.สน = 50.7 ลบ. - ตามจ่าย OP ตจว. ( ตัดเงินราย CUP 25.7 ลบ.) - จ่ายตามผลงาน รพ. (พัฒนาคุณภาพบริการ) 25 ลบ. ( ตัดตามเปอร์เซ็นต์เท่ากันทุก CUP )

การบริหารงบกองทุนหลักประกันสุขภาพปี 2555 สปสช. Pre Paid (CUP) ตามผลงาน - OP All ปรับตาม - IP ในเขต / นอกเขต ผลงาน - PPE - PPE (specific) - PPทันตกรรมป้องกัน - OP,IP AE/HC/Inst,พาหนะ - OP / PP Individual data - P4P ( รับส่งต่อ/ปฐมภูมิ ) - On top payment - อื่นๆ PCU / สอ. จ่ายเพิ่มเติมตามผลงาน Fixed Cost - 18 แฟ้ม ปี 55 (12 บาท/UC) - P4P (7 บาท/UC) - On top payment (24 บาท/UC) -------- บาท / UC (ไม่รวม เงินเดือนนร.ทุน+M4) งบดำเนินการ รพ.สต. (14 บาท/UC)

เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลการใช้บริการจริง การคำนวณจัดสรรเบื้องต้นค่าบริการ IP ทั้งที่ให้บริการในเขต และนอกเขต เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลการใช้บริการจริง สาขา GB รายจ่าย Fixed Cost กันตามจ่าย อัตราจ่าย   ข้ามเขต สำรองเตียง มาตรา 7 คุณภาพ คงเหลือ ในเขต เชียงใหม่ 5,074,619,768 115,317,715 14,429,170 9,769,538 62,819,850 4,872,283,495 8,161.59 พิษณุโลก 2,899,341,212 310,962,151 14,173,651 3,795,455 39,331,035 2,531,078,920 8,444.84 นครสวรรค์ 2,668,117,980 490,748,926 33,269,333 4,672,489 34,796,205 2,104,631,027 8,427.91 สระบุรี 3,539,539,538 580,796,511 436,543 8,800,626 47,344,395 2,902,161,462 8,240.00 ราชบุรี 4,168,084,860 625,589,773 634,263 4,055,356 56,423,595 3,481,381,873 8,279.12 ระยอง 3,946,466,260 540,889,727 1,153,355 5,749,431 56,951,220 3,341,722,526 8,493.18 ขอนแก่น 3,881,834,334 234,275,014 7,966 4,562,881 57,182,730 3,585,805,743 8,583.22 อุดรธานี 4,158,708,284 517,022,723 8,226,690 3,812,123 64,830,120 3,564,816,629 8,695.85 นครราชสีมา 5,158,871,909 518,629,278 225,403 4,963,279 76,506,405 4,558,547,545 8,742.11 อุบลราชธานี 3,600,377,850 254,361,419 107,822 4,317,153 53,300,265 3,288,291,191 8,525.66 สุราษฎร์ธานี 3,260,562,102 335,064,838 182,100 2,969,353 51,879,900 2,870,465,912 8,765.47 สงขลา 3,333,496,554 85,521,704 141,003 2,032,574 58,472,025 3,187,329,249 9,147.74 กรุงเทพมหานคร 3,652,091,049 278,176,259 618,281 36,600,497 53,945,190 3,282,750,822 8,832.70 SNSP 34,881,100 - 201,499 300,746 979,530 33,399,325 9,116.43 49,376,992,800 4,887,356,037 73,807,079 96,401,501 714,762,465 43,604,665,718 8,552.18 การคำนวณภายใต้เงื่อนไข Growth rate = 0% DRG v4 vs DRG v5 งบขาลง 2,895 บาท/ปชก. ปชก.ที่ใช้คำนวณ = ปชก.สำนักงบปี55 : 48.333 ล้านคน

การคำนวณจัดสรรเบื้องต้นค่าบริการ IP ทั้งที่ให้บริการในเขต และนอกเขต สาขา อัตราจ่าย Rate จัดสรร Prepaid 55   ในเขต เชียงใหม่ 8,161.59 8,000.00 พิษณุโลก 8,444.84 นครสวรรค์ 8,427.91 สระบุรี 8,240.00 ราชบุรี 8,279.12 ระยอง 8,493.18 ขอนแก่น 8,583.22 8,400.00 อุดรธานี 8,695.85 นครราชสีมา 8,742.11 อุบลราชธานี 8,525.66 สุราษฎร์ธานี 8,765.47 8,500.00 สงขลา 9,147.74 9,000.00 กรุงเทพมหานคร 8,832.70 SNSP 9,116.43 8,552.18