การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการการป้องกันและการบริหารจัดการด้านเอดส์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ 23-Jul-19
โรคเอดส์คืออะไร กลุ่มอาการของความเจ็บป่วยที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอดส์ หรือ เอชไอวี (HIV) ทำให้ร่างกายอ่อนแอลงเนื่องจากภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ป่วยเอดส์อาจมีอาการได้มากมายหลายอย่าง เช่น ไข้ ผื่นขึ้นตามตัว การ ลุกลามของโรคเริม ปอดอักเสบ ท้องเสียเรื้อรัง ผอมลง และน้ำหนักตัวลดลง อย่างรวดเร็ว 23-Jul-19
โรคเอดส์คืออะไร โรคเอดส์จัดเป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรงโรคหนึ่ง เพราะผู้ติดเชื้อ เอดส์ทุกรายจะเสียชีวิตในเวลาที่ไม่นานนัก ปัจจุบันยังไม่มียาใด ๆ ที่จะรักษาโรคเอดส์ให้หายขาดได้ และยังไม่ มีวัคซีนที่จะใช้ป้องกันโรคเอดส์อย่างได้ผล 23-Jul-19
โรคเอดส์พบครั้งแรกในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2524 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติความเป็นมา โรคเอดส์พบครั้งแรกในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2524 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา สำหรับผู้ป่วยเอดส์รายแรกในประเทศไทยนั้นเป็นชายอายุ 28 ปี เดินทางไปศึกษาต่อที่อเมริกาและมีพฤติกรรมรักร่วมเพศ เริ่มมีอาการในปี พ.ศ.2526 23-Jul-19
ใครพบเชื้อไวรัสเอดส์เป็นคนแรก ในปี พ.ศ. 2526 Luc Montagnier ชาวฝรั่งเศส สามารถแยกเชื้อจากต่อมน้ำเหลืองของผู้ป่วย ในเวลาใกล้เคียงกัน Robert Gallo นายแพทย์ชาวอเมริกันก็สามารถแยกเชื้อจากเม็ดเลือดขาวของผู้ป่วย ต่อมา Levy นายแพทย์ชาวอเมริกันสามารถแยกเชื้อชนิดเดียวกันนี้และตั้งชื่อว่า AIDS related virus 23-Jul-19
อัตราป่วยด้วยโรคติดเชื้อฉวยโอกาสของผู้ป่วยเอดส์ 6 อันดับ อัตราป่วยด้วยโรคติดเชื้อฉวยโอกาสของผู้ป่วยเอดส์ 6 อันดับ 23-Jul-19
HIV และ AIDS ต่างกันอย่างไร เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายเชื้อจะแบ่งตัวอย่างมากและมีการเกิดโรคที่อวัยวะต่างๆ เช่น สมอง หัวใจ ไต และจะทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกัน จะทำหน้าที่สร้างภูมิ เพื่อต่อต้านการติดเชื้อและมะเร็งบาง ชนิด 23-Jul-19
HIV และ AIDS ต่างกันอย่างไร HIV disease ผู้ป่วยที่ได้รับเชื้อ HIV และยังไม่เกิดอาการจากเชื้อฉวยโอกาสและมี จำนวนเซลล์ CD4+ lymphocytes มากกว่า 200 cells/mm3 โดยทั่วไปไม่มีอาการเป็นเวลา 5-10 ปี แม้ว่าจะไม่มีอาการ เชื้อก็แบ่งตัว และทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย เมื่อภูมิถูกทำลายมากจนกระทั่งเกิดโรคที่เกิดจากภูมิบกพร่อง 23-Jul-19
HIV และ AIDS ต่างกันอย่างไร อาจจะทำให้เกิดโรคฉวยโอกาสและมะเร็งตามองค์การควบคุมโรคติดเชื้อของอเมริกา หมายถึง - โรคติดเชื้อบางชนิด - มะเร็งบางชนิด และมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ระบบประสาท - CD4+ count น้อยกว่า 200 cells/mm3 23-Jul-19
CD4 คืออะไร สำคัญอย่างไร มีบทบาทในการสร้างสารภูมิคุ้มกันในร่างกายใช้เป็นอาวุธต่อสู่กับเชื้อโรคด้วย การตรวจ CD 4 คือ การตรวจเลือดเพื่อนับจำนวนเม็ดเลือดขาวชนิด CD 4 ถ้าหากผลการตรวจ CD 4 มีค่าน้อยกว่า 200 ก็ถือว่าภูมิคุ้มกันบกพร่อง แล้ว การตรวจ CD 4 คือ การตรวจเลือดเพื่อนับจำนวนเม็ดเลือดขาวชนิด CD 4 ในเลือดประมาณ 1 หยด โดยทั่วไปคนที่มีภูมิคุ้มกันปกติจำนวน CD 4 ประมาณ 700 ขึ้นไป ถ้าหากผลการตรวจ CD 4 มีค่าน้อยกว่า 200 ก็ถือว่าภูมิคุ้มกันบกพร่องแล้ว 23-Jul-19
เชื้อเอชไอวี ทำอะไรกับร่างกาย เมื่อไวรัสเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายจะใช้ CD 4 ในการขยายพันธุ์ ในขณะเดียวกันก็ทำให้ CD 4 ถูกทำลายและมีจำนวนลดลงด้วย ในช่วงที่คน ๆ หนึ่งได้รับเชื้อเอชไอวี แต่ยังไม่ป่วย เรียกว่า ผู้ติดเชื้อเอชไอวี แต่เมื่อจำนวนเชื้อเพิ่มขึ้น และจำนวน CD 4 ลดลงจนไม่สามารถกำจัด / ควบคุมเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ เรียกว่า มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือเป็นผู้ป่วยเอดส์ เฉลี่ยตั้งแต่รับเชื้อ จนเริ่มป่วยใช้เวลาประมาณ 7 – 10 ปี โรคที่ป่วยโรคเนื่องจากภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง เรียกว่า โรคติดเชื้อฉวยโอกาส ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อโรคที่มีอยู่แล้วในร่างกาย แต่ปะทุขึ้นมาเมื่อ CD 4 ควบคุมไว้ไม่อยู่ โรคติดเชื้อฉวยโอกาสที่พบบ่อย คือ เชื้อราในปาก, เชื้อราในหลอดอาหาร, ริ้วขาวข้างลิ้น, ตุ่มพีพีอี, วัณโรค, งูสวัดที่รอยแผลกว้างเกิน 2 นิ้วมือทาบ หรือมีการกลับเป็นซ้ำ, เริมที่อวัยวะเพศที่เป็นบ่อย ( ทุกเดือน ) หรือหายช้า, ปอดอักเสบพีซีพี, ฝีในสมอง, เชื้อราเยื่อหุ้มสมอง ( คริปโต ), เชื้อราในกระแสเลือด ( เพนนิซิโลซิส ) 23-Jul-19
โรคติดเชื้อ HIV และระบบภูมิคุ้มกัน การทำลายภูมิอาจจะเร็วต่างกันในแต่ละคน บางคนทำลายเร็วไม่กี่ ปีก็เป็นโรคเอดส์ แต่ส่วนใหญ่ใช้เวลา 10 ปี จึงจะกลายเป็นโรค เอดส์ 23-Jul-19
โรคติดเชื้อ HIV และระบบภูมิคุ้มกัน การเจาะเลือดหาปริมาณเชื้อ HIV ในเลือด (viral load ) จะ สามารถคาดการณ์ได้ว่าเชื้อจะทำลายระบบภูมิคุ้มกันเร็วแค่ไหน การเจาะเลือดหาเซลล์ CD-4 จะบ่งบอกสภาพภูมิของร่างกาย เซลล์ CD-4 ยิ่งต่ำ ภูมิยิ่ง บกพร่องมากขึ้นเท่านั้น หากไม่ได้รักษาเชื้อ HIV จะทำลายระบบภูมิคุ้มกันอย่างมาก ทำให้ร่างกายติดเชื้อฉวยโอกาส โดยเฉพาะปริมาณเซลล์ CD-4 น้อยกว่า 300 ถ้าหากต่ำกว่า 100 จะมีการติดเชื้อ รุนแรง * การเจาะเลือดหาปริมาณเชื้อ HIV ในเลือด (viral load ) จะสามารถคาดการณ์ได้ว่าเชื้อจะทำลายระบบภูมิคุ้มกันเร็วแค่ไหน ถ้าเชื้อมีปริมาณมากจะทำลายภูมิของร่างกายเร็ว ยาต้านไวรัส HIV ที่ดีจะสามารถยับยังการแบ่งตัวของเชื้อทำให้หยุดยั้งการดำเนินของโรค * การเจาะเลือดหาเซลล์ CD-4 จะบ่งบอกสภาพภูมิของร่างกาย เซลล์ CD-4 ยิ่งต่ำภูมิยิ่งบกพร่องมากขึ้นเท่านั้น * หากไม่ได้รักษาเชื้อ HIV จะทำลายระบบภูมิคุ้มกันอย่างมากทำให้ร่างกายติดเชื้อฉวยโอกาส โดยเฉพาะปริมาณเซลล์ CD-4 น้อยกว่า 300 ถ้าหากต่ำกว่า 100 จะมีการติดเชื้อรุนแรง 23-Jul-19
การตรวจหาการติดเชื้อ เป็นการเจาะเลือด เพื่อตรวจหาภูมิของโรค * เจาะเลือดตรวจหาภูมิโดยวิธี enzyme-linked immunoabsorbent assay (ELISA) ถ้า ให้ผลบวกต้องยืนยันการวินิจฉัยโดยวิธีการ Western Blot * การตรวจ HIV PCR เป็นการตรวจหาตัวเชื้อหลังจากสัมผัส โรคโดยที่ภูมิยังไม่ขึ้น เจาะเลือดตรวจหาภูมิโดยวิธี enzyme-linked immunoabsorbent assay (ELISA) ถ้าให้ผลบวกต้องยืนยันการวินิจฉัยโดยวิธีการ Western Blot แต่มีข้อเสียคือไม่สามารถให้การวินิจฉัยได้เร็วคือหลังจากได้รับเชื้อประมาณ 6 เดือนจึงให้ผลบวก 23-Jul-19
โรคเอดส์ ติดต่อได้อย่างไร การร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อเอดส์ โดยไม่ใช่ถุงยางอนามัย การรับเชื้อทางเลือด การแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก 23-Jul-19
ปัจจัยที่ทำให้ติดเชื้อเอดส์ ปริมาณเชื้อเอดส์ที่ได้รับ หากได้รับเชื้อเอดส์มาก โอกาสติด โรคเอดส์ก็จะสูงขึ้นไป ด้วย โดยเชื้อเอดส์ จะพบมากที่สุดในเลือด รองลงมาคือ น้ำอสุจิ และน้ำในช่อง คลอด หากมีบาดแผล จะทำให้เชื้อเอดส์เข้าสู่บาดแผล และทำให้ติด โรคเอดส์ ได้ง่ายขึ้น จำนวนครั้งของการสัมผัส หากสัมผัสเชื้อโรคบ่อย ก็มีโอกาสจะติดเชื้อมากขึ้นไปด้วย 23-Jul-19
ปัจจัยที่ทำให้ติดเชื้อเอดส์ 4. การติดเชื้ออื่นๆ เช่น แผลริมอ่อน แผลเริม ทำให้มีเม็ดเลือดขาว อยู่ที่แผลจำนวนมาก จึงรับเชื้อเอดส์ได้ง่าย และเป็นหนทางให้เชื้อ เอดส์เข้าสู่แผลได้เร็วขึ้น 5. สุขภาพของผู้รับเชื้อ หากสุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง ในขณะนั้น ก็ ย่อมมีโอกาสที่จะรับเชื้อได้ง่ายขึ้น 23-Jul-19
ใครควรที่จะต้องเจาะเลือดหาเชื้อHIV รักร่วมเพศ ผู้ที่มีเพศสัมพันธ์กับคนอื่นโดยไม่ได้ป้องกัน ผู้ที่มีเพศสัมพันธ์กับคนที่มีเชื้อ HIV มีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่ฉีดยาเสพติดเข้าเส้น 23-Jul-19
ใครควรที่จะต้องเจาะเลือดหาเชื้อHIV ผู้ที่มีคู่ขาหลายคน ผู้ที่เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้ติดยาเสพติดเข้าเส้น คนท้อง 23-Jul-19
AIDS ทำลายร่างกายอย่างไร ทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย - สมองถูกทำลายทำให้สมองเสื่อม และความจำเสื่อม - ทำให้หัวใจวาย - ทำให้ไตวาย - ไม่สามารถทำงานประจำวันได้ - มีการเปลี่ยนแปลงทางน้ำหนักและท้องร่วงเรื้อรัง 23-Jul-19
มีเชื้อราในปากบริเวณกระพุ้งแก้ม ลิ้น และเพดานปาก อาการของโรคเอดส์ มีเชื้อราในปากบริเวณกระพุ้งแก้ม ลิ้น และเพดานปาก ต่อมน้ำเหลืองโต ที่บริเวณคอ รักแร้ ขาหนีบ เป็นงูสวัด หรือ แผลเริมชนิดลุกลาม มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้ำหนักลดเรื้อรังเกิน 1 เดือน 23-Jul-19
อาการของโรคติดเชื้อ HIV ต่อมน้ำเหลืองโต ตับม้ามโต มักจะเป็นอาการอันแรกของการติดเชื้อ ท้องร่วง บางคนอาจจะเรื้อรัง น้ำหนักลด มีไข้ ไอและหายใจลำบาก 23-Jul-19
ไข้หนาวสั่น ไข้สูงเรื้อรัง ไอเรื้อรังและหายใจลำบาก ท้องร่วงเรื้อรัง เมื่อไม่ได้รับการรักษาเชื้อก็จะแบ่งตัวเรื่อยและทำลายระบบภูมิคุ้มกันและกลายเป็นโรคเอดส์ซึ่งจะมีอาการดังนี้ เหงื่อออกกลางคืน ไข้หนาวสั่น ไข้สูงเรื้อรัง ไอเรื้อรังและหายใจลำบาก ท้องร่วงเรื้อรัง 23-Jul-19
ตามัวลงหรือเห็นเป็นเส้นลอยไปมา น้ำหนักลด เมื่อไม่ได้รับการรักษาเชื้อก็จะแบ่งตัวเรื่อยและทำลายระบบภูมิคุ้มกันและกลายเป็นโรคเอดส์ซึ่งจะมีอาการดังนี้ ลิ้นเป็นฝ้าขาว ปวดศีรษะ ตามัวลงหรือเห็นเป็นเส้นลอยไปมา น้ำหนักลด 23-Jul-19
ระยะของโรคเอดส์ 1. ระยะไม่ปรากฎอาการ ในระยะนี้ผู้ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการผิดปกติใดๆ ออกมา จึงดูเหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรงเหมือน คนปกติ จากระยะแรกเข้าสู่ระยะต่อไปโดยเฉลี่ยใช้เวลาประมาณ 7-8 ปี แต่บางคนอาจไม่มีอาการนานถึง 10 ปี จึงทำให้ผู้ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อต่อไปให้กับบุคคลอื่นได้ เนื่องจากส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อ ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ ในระยะนี้ผู้ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการผิดปกติใดๆ ออกมา จึงดูเหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรงเหมือนคนปกติ แต่อาจจะเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ จากระยะแรกเข้าสู่ระยะต่อไปโดยเฉลี่ยใช้เวลาประมาณ 7-8 ปี แต่บางคนอาจไม่มีอาการนานถึง 10 ปี จึงทำให้ผู้ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อต่อไปให้กับบุคคลอื่นได้ เนื่องจากส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อ 23-Jul-19
2. ระยะมีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ ระยะของโรคเอดส์ 2. ระยะมีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ ระยะเริ่มปรากฏอาการ จะตรวจพบผลเลือดบวก มีอาการผิดปกติเกิดขึ้นในเห็น เช่น ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่งติดต่อกันนานกว่า 3 เดือน, มีเชื้อ ราในปากบริเวณกระพุ้งแก้ม เป็นต้น มีอาการเรื้อรังนานเกิน 1 เดือน โดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้ำหนักลด เป็นต้น ระยะนี้อาจเป็นอยู่นานเป็นปีก่อนจะกลายเป็นเอดส์ระยะเต็มขึ้นต่อไป ระยะเริ่มปรากฏอาการ ในระยะนี้จะตรวจพบผลเลือดบวก และมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นในเห็น เช่น ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่งติดต่อกันนานกว่า 3 เดือน, มีเชื้อราในปากบริเวณกระพุ้งแก้ม และเพดานปาก, เป็นงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลาม และมีอาการเรื้อรังนานเกิน 1 เดือน โดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้ำหนักลด เป็นต้น ระยะนี้อาจเป็นอยู่นานเป็นปีก่อนจะกลายเป็นเอดส์ระยะเต็มขึ้นต่อไป 23-Jul-19
ระยะของโรคเอดส์ 3. ระยะเอดส์เต็มขั้น ในระยะนี้ภูมิคุ้มกันของร่างกายจะถูกทำลายลงไปมาก ทำให้เป็นโรคต่างๆ ได้ง่าย หรือที่เรียกว่า "โรคติดเชื้อฉวยโอกาส" หากเป็นวัณโรคที่ปอด จะมีอาการไข้เรื้อรัง ไอเป็นเลือด ในระยะนี้ภูมิคุ้มกันของร่างกายจะถูกทำลายลงไปมาก ทำให้เป็นโรคต่างๆ ได้ง่าย หรือที่เรียกว่า "โรคติดเชื้อฉวยโอกาส" ซึ่งมีหลายชนิด แล้วแต่ว่าจะติดเชื้อชนิดใด และเกิดที่ส่วนใดของร่างกาย หากเป็นวัณโรคที่ปอด จะมีอาการไข้เรื้อรัง ไอเป็นเลือด ถ้าเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ Cryptococcus จะมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง คอแข็ง คลื่นไส้อาเจียน หากเป็นโรคเอดส์ของระบบประสาทก็จะมีอาการความจำเสื่อม ซึมเศร้า แขนขาอ่อนแรงเป็นต้น ส่วนใหญ่เมื่อผู้เป็นเอดส์เข้าสู่ระยะสุดท้ายนี้แล้วโดยทั่วไปจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1-2 ปี 23-Jul-19
ระยะของโรคเอดส์ 3. ระยะเอดส์เต็มขั้น (ต่อ) ถ้าเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ Cryptococcus จะมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง คอแข็ง คลื่นไส้อาเจียน หากเป็นโรคเอดส์ของระบบประสาทก็จะมีอาการความจำเสื่อม ซึมเศร้า แขนขาอ่อนแรง ส่วนใหญ่เมื่อผู้เป็นเอดส์เข้าสู่ระยะสุดท้ายนี้แล้วโดยทั่วไปจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1-2 ปี 23-Jul-19
ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ รักเดียว ใจเดียว การป้องกัน โรคเอดส์ ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ รักเดียว ใจเดียว ก่อนแต่งงาน หรือมีบุตร ควรตรวจร่างกาย ตรวจเลือด และขอรับ คำปรึกษาเรื่องโรคเอดส์จากแพทย์ก่อน งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และงดใช้สารเสพติดทุกชนิด 23-Jul-19
ถุงยางอนามัย ป้องกัน โรคเอดส์ ได้แค่ไหน ถุงยางอนามัย สามารถป้องกันโรคเอดส์ได้แน่นอน ขึ้นอยู่กับการใช้ว่าถูกต้องหรือไม่ ต้องเลือกขนาดใช้ให้เหมาะสม ถ้าขนาดไม่พอดี ก็อาจฉีกขาด หรือ หลุดออกง่าย ซึ่งจะไม่สามารถป้องกัน โรคเอดส์ อย่างได้ผล 23-Jul-19
วิธีใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกต้อง 23-Jul-19
ยารักษาโรคเอดส์ กลุ่มยาเอ็นอาร์ทีไอ ( NRTI ) เช่น เอแซดที ( AZT ), ดีดีไอ( ddI ), ดีโฟร์ที ( d4T ), 3ทีซี(3TC ), อะบาคาเวียร์( ABC ) กลุ่มยาเอ็นเอ็นอาร์ทีไอ ( NNRTI ) เช่น เนวิราปีน( NVP ), เอฟฟาไวเร็นซ์ ( EFV) กลุ่มยาพีไอ ( PI ) เช่น ริโทนาเวียร์( RTV ), ซาควินาเวียร์( SQV ), อินดินา เวียร์( IDV ), เนลฟินาเวียร์( NFV ) 23-Jul-19
รู้ได้อย่างไรว่ายารักษาได้ผล น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจนถึงระดับที่เคยเป็นปกติ CD 4 เพิ่มขึ้น ไม่มีโรคติดเชื้อฉวยโอกาสเกิดขึ้นใหม่ ปริมาณไวรัสเอชไอวีในร่างกาย ( ไวรัสโหลด ) ลดลงจนตรวจไม่พบ ใน 6 เดือน หลังเริ่มยาต้าน ฯ หรือพบแต่น้อยลงเมื่อเทียบกับการ ตรวจครั้งก่อน 23-Jul-19
ข้อควรปฏิบัติหากได้รับเชื้อเอดส์ 1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ มีสารอาหารครบถ้วน เพื่อให้ ร่างกายแข็งแรง 2. รักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ด้วยการออกกำลังกายอย่าง สม่ำเสมอ 3. หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ หรือหากมีเพศสัมพันธ์ ควรใช้ถุงยาง อนามัยทุกครั้ง เพื่อป้องกันการรับเชื้อ หรือแพร่เชื้อเอดส์ 23-Jul-19
ข้อควรปฏิบัติหากได้รับเชื้อเอดส์ 4. งดการบริจาคเลือด อวัยวะ และงดใช้สิ่งเสพติดทุกชนิด 5. หากเป็นหญิง ไม่ควรตั้งครรภ์ เพราะเชื้อเอดส์สามารถ ถ่ายทอดสู่ลูกได้ถึง 30% 6. ทำจิตใจให้สงบ ไม่เครียด ไม่กังวล รวมทั้งอาจฝึกสมาธิ 7. อยู่ในสถานที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก 23-Jul-19
ความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับโรคเอดส์ เชื้อเอชไอวีไม่สามารถแพร่สู่กันได้โดยการติดต่อในชีวิตประจำวันกับผู้ติด เชื้อเอชไอวี Fact ไม่สามารถติดต่อกันได้ผ่านทางการกอด การปฏิสัมพันธ์ภายนอกอื่นๆ เช่น การใช้ห้องน้ำร่วมกัน การใช้เตียงนอน ร่วมกัน การใช้อุปกรณ์รับประทานอาหารหรือรถแท็กซี่ร่วมกัน 23-Jul-19
ความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับโรคเอดส์ เอชไอวีไม่ใช่โรคติดต่อทางอากาศเหมือนกับไข้หวัด และไม่ติดต่อผ่านทางแมลง หรือ ยุง Fact โดยทั่วไปแล้วเชื้อเอชไอวีติดต่อกันผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย เชื้อเอชไอวียังสามารถติดต่อผ่านทางการใช้เข็ม หรืออุปกรณ์ฉีดยาร่วมกันของผู้ใช้ ยาเสพติด ขณะที่ผู้หญิงตั้งครรภ์สามารถแพร่เชื้อไปสู่ลูกได้ในระหว่างการตั้งครรภ์ การคลอด และการเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่ 23-Jul-19
23-Jul-19
วันที่ 1 ธันวาคมของทุกปี องค์การอนามัยโลกได้กำหนดให้เป็นวันเอดส์โลก 23-Jul-19
หน่วยงานที่ให้การบริการปรึกษาปัญหาสุขภาพและโรคเอดส์ 23-Jul-19
คำถาม??? 1. ผู้ป่วยเอดส์ที่พบส่วนใหญ่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวีโดยทางใด? การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน จากมารดาสู่ทารก การบริจาคเลือด การมีเพศสัมพันธ์ การมีเพศสัมพันธ์ 23-Jul-19
คำถาม??? 2. จากรายงานพบผู้ติดเชื้อเอชไอวีกลุ่มแรกเป็นบุคคลกลุ่มใด? กลุ่มผู้ใช้ยาเสพติด กลุ่มชายเที่ยวสถานหญิงบริการ การมีเพศสัมพันธ์ กลุ่มหญิงให้บริการ การมีเพศสัมพันธ์ 23-Jul-19
คำถาม??? 3. ข้อใดถูกต้อง? การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างชายรักร่วมเพศเท่านั้นที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี การใช้ถุงยางอนามัยช่วยป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี และป้องกันการตั้งครรภ์ได้ การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างชายและหญิงตามปกติไม่ทำให้ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี การมีเพศสัมพันธ์ด้วยปากโดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยไม่ทำให้ติดเชื้อเอชไอวี การใช้ถุงยางอนามัยช่วยป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี และป้องกันการตั้งครรภ์ได้ 23-Jul-19
คำถาม??? 4. เชื้อไวรัส HIV ย่อมาจากคำว่าอะไร? Host Import Virus Human Immunodeficiency Virus Human Impossible Virus Holiday Impossible Virus Human Immunodeficiency Virus 23-Jul-19
คำถาม??? 5. การป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ คือข้อใด? การใช้ถุงยางอนามัย การหลั่งภายนอก การใช้ยาคุมฉุกเฉิน การนับวันปลอดภัย การใช้ถุงยางอนามัย 23-Jul-19
คำถาม??? 6. ข้อใดไม่ควรปฏิบัติเมื่อทราบว่าตนเองติดเชื้อเอชไอวี? เก็บตัว ไม่ให้คนอื่นรู้ ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เมื่อมีอาการป่วย รีบไปพบแพทย์ และรับประทานให้ครบตามที่แพทย์สั่ง เก็บตัว ไม่ให้คนอื่นรู้ 23-Jul-19
คำถาม??? 7. ใครมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวีมากที่สุด? สมศักดิ์ รักเดียวใจเดียวและมีเพศสัมพันธ์กับภรรยาตนเองเท่านั้น ชาติชาย บริจาคเลือดเป็นประจำทุก 3 เดือน วินัย อยู่ในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด สมชาย สวมถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ วินัย อยู่ในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด 23-Jul-19
คำถาม??? 8. ซีดี 4 หรือ CD4 คืออะไร? เม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่งที่ช่วยกำจัดและควบคุมเชื้อโรคนานาชนิด เชื้อไวรัสเอชไอวีชนิดหนึ่งที่จะทำลายภูมิคุ้มกันในร่างกายให้ลดลง โรคแทรกซ้อนชนิดหนึ่งที่พบในกลุ่มผู้ป่วยเอดส์ ชื่อยาต้านไวรัสเอชไอวีชนิดหนึ่ง ซึ่งจะช่วยในการเพิ่มปริมาณเม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่งที่ช่วยกำจัดและควบคุมเชื้อโรคนานาชนิด 23-Jul-19
คำถาม??? 9. แหล่งที่มีเชื้อเอชไอวีมากที่สุด ได้แก่ข้อใด? ปัสสาวะ น้ำลาย เลือด เหงื่อ เลือด 23-Jul-19
คำถาม??? 10. ข้อใดไม่ใช่ทักษะชีวิตพิชิตเอดส์? ทักษะในการควบคุมอารมณ์ ทักษะในการคำนวณ ทักษะการสื่อสารเพื่อการปฏิเสธ ทักษะในการจัดลำดับการตัดสินใจ ทักษะในการคำนวณ 23-Jul-19