รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รูปแบบการจัดวางสามารถปรับได้ตามความสะดวก -แบบตัวอักษรใช้ THsarabunPSK
Advertisements

การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
ประโยคในภาษาไทย การเขียนประกอบด้วยประโยคต่าง ๆ หลายรูปแบบ หากเข้าใจโครงสร้างของประโยค จะทำให้สื่อความหมายได้ชัดเจน ไม่สับสน ไม่คลุมเครือ และไม่ขาดตกบกพร่อง.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การอ่าน สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี ม. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
การฟัง การดู และการพูด. การวิเคราะห์เรื่องและประเมินเรื่องที่ฟังและดู การฟังและการดู เป็นทักษะที่จำเป็นในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจได้รับจากบุคคล.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
Multistage Cluster Sampling
(Thailand Vowels Transcribing)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
ใน Word 5 วิธีใหม่ๆ ในการทำงาน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้จากทุกที่
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
เข้าใจตน เข้าใจสาขา นายจิรภัทร ผดุงกิจ.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
Integrated Information Technology
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
ADDIE model หลักการออกแบบของ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ การปรับปรุง Suited-Syllable-Structure Mapping สำหรับการตัดคำข้อความภาษาไทย (Modified Suited-Syllable-Structure Mapping for Thai Word Segmentation) รูปนิสิต <<ชื่อนิสิต>> และ <<อาจารย์ที่ปรึกษา>> สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ งานวิจัยนี้ นำเสนอกระบวนการตัดคำประโยคภาษาไทยโดยอาศัยกฎเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีความถูกต้อง และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานในด้านการสังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทยได้ วิธีการที่นำเสนอในงานวิจัยนี้ ได้รับการพัฒนาจากเทคนิคการตัดคำภาษาไทยที่เรียกว่า Suited-Syllable-Structure Mapping โดยการเพิ่มสองขั้นตอนย่อย คือ การปรับปรุงการจัดกลุ่มอักขระไทย (Enhanced Thai Character Cluster) และ การเพิ่มเติมกฎย่อยเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบพยางค์ (Sub-rules) จากผลการทดลองฐานข้อมูล Lexitron จำนวน 600 ข้อความ พบว่า วิธีการที่นำเสนอให้ผลการตัดคำที่มีความถูกต้องมากขึ้น และ ทำให้เมื่อนำพยางค์ที่ได้จากการตัดคำไปใช้ได้ดีกับซอฟต์แวร์ด้านการสังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทยประเภทที่มีการวิเคราะห์เสียงแบบ Unit Selection งานวิจัยนี้ได้ทำการทดลองการตัดคำกับข้อมูลตัวหนังสือภาษาไทยซึ่งได้มาจาก Lexitron (พจนานุกรมออนไลน์แปลความหมายจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษหรือจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย) จำนวนทั้งสิ้น 600 ข้อความ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ข้อความที่มีคำควบกล้ำ ข้อความที่มีตัวการันต์ และ ข้อความปกติ (ไม่มีคำควบกล้ำหรือตัวการันต์) กลุ่มละ 200 ข้อความ และ แบ่งการทดลองออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ ทดสอบความถูกต้องในการตัดคำของเทคนิค Suited-Syllable-Structure (3-S) Mapping (วิธีที่ 1) ทดสอบความถูกต้องในการตัดคำของเทคนิค Sub-Ruled Suited-Syllable-Structure (4-S) for Thai Word Segmentation (วิธีที่ 2) วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาขั้นตอนวิธีการตัดคำประโยคภาษาไทย เพื่อประยุกต์และปรับปรุงขั้นตอนการตัดคำภาษาไทยแบบ Suited-Syllable-Structure Mapping เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาขั้นสูงต่อไป วิธีการที่นำเสนอ Sentence-and-paragraph segmentation เป็นกระบวนการแบ่งข้อความภาษาไทยที่มีความยาวมาก ออกเป็นประโยคหรือย่อหน้าย่อยๆ โดยใช้วิธีการแบ่ง 2 วิธี คือ แบ่งโดยใช้การเว้นวรรค (blank space) ซึ่งใช้สำหรับการแบ่งประโยค และการแบ่งโดยใช้การขึ้นบรรทัดใหม่ (carriage return) ซึ่งใช้สำหรับการแบ่งย่อหน้า Alphabet-Symbol-Substitution เป็นกระบวนการในการแปลงกลุ่มของตัวอักขระภาษาไทยที่ได้จากขั้นตอนแรก ให้เป็นสัญลักษณ์ที่อยู่ในรูป C, V และ T โดย C แทนกลุ่มของตัวอักษรภาษาไทย V แทนกลุ่มของสระ และ T แทนวรรณยุกต์ Sub-Ruled Suited-Syllable-Structure (4-S) Mapping เป็นการตัดคำจากกลุ่มสัญลักษณ์ออกเป็นพยางค์หรือคำ ซึ่งอาศัยกฎในการตัดคำโดยที่กฎหลักสำหรับการตัดคำได้มาจาก Suited-Syllable-Structure (3-S) Mapping และ Enhanced Thai Character Cluster รวมกฎหลักได้ทั้งสิ้น 50 กฎ และ งานวิจัยนี้ได้เพิ่มกฎย่อยจำนวน 79 กฎ การทดลอง ร้อยละของความถูกต้องในการตัดคำ ข้อความที่มีคำ ควบกล้ำ ข้อความที่มีตัวการันต์ ข้อความปกติ 3-S Mapping 25.0 0.5 19.5 4-S Mapping 95.5 83.0 97.5 บทนำ ประโยคภาษาไทยมีระบบการเขียนที่ต่อเนื่องกันโดยไม่มีการเว้นระยะจนกว่าจะจบประโยค หากเขียนวรรคตอนผิดจะทำให้เสียความหมายหรือทำให้ความหมายเปลี่ยนไปได้ ด้วยโครงสร้างของภาษาเช่นนี้ ทำให้เป็นการยากที่จะแบ่งแยกข้อความออกเป็นคำหรือพยางค์ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่จะต้องมีวิธีการตัดคำที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้ได้การตัดคำที่ถูกต้อง โดยผู้วิจัยได้เสนอวิธีการตัดคำที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้วยการเพิ่มเติมกฎย่อยที่ทำงานร่วมกับกฎการตัดคำหลักของเทคนิคการตัดคำที่เรียกว่า Suited-Syllable-Structure (3-S) Mapping และเรียกเทคนิคการตัดคำที่ได้พัฒนานี้ว่า Sub-ruled Suited-Syllable-Structure (4-S) งานวิจัยนี้ จึงนำเสนอวิธีการสำหรับเทคนิคการตัดคำที่มีขั้นตอนการทำงานโดยรวมดังรูป Sentence and Paragraph Segmentation Alphabet Symbol Substitution Suited-Syllable-Structure + Sub-Rule Mapping (4-S) Thai Syllable Thai Sound Synthesis (Unit Selection Algorithm) สรุปผลการทดลอง บทความนี้ นำเสนอกระบวนการตัดคำประโยคภาษาไทยโดยอาศัยกฎหลัก Suited-Syllable-Structure Mapping, การปรับปรุงการจัดกลุ่มอักขระไทย (Enhanced Thai Character Cluster) และ การสร้างกฎย่อยเพื่อปรับปรุงคุณภาพการทำงานของกฎหลักทั้ง 50 กฎ โดยกฎย่อยที่สร้างขึ้นมามีทั้งหมด 73 กฎย่อย ผลการทดสอบขั้นตอนวิธีที่นำเสนอกับฐานข้อมูล Lexitron ซึ่งเป็นฐานข้อมูลมาตรฐานจำนวน 600 ข้อความ วิธีการที่นำเสนอให้ผลเป็นที่น่าพอใจ กล่าวคือให้ร้อยละของความถูกต้องที่ 95.5, 83.0 และ 97.5 สำหรับข้อมูลทั้งสามกลุ่มที่กล่าวมาข้างต้นตามลำดับ และ ผลจากงานวิจัยในครั้งนี้ คณะผู้วิจัย ได้นำพยางค์ที่ได้จากการตัดคำไปใช้ได้ดีกับซอฟต์แวร์ด้านการสังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทยสำหรับการอ่านออกเสียงจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งใช้หลักการการวิเคราะห์เสียงแบบ Unit Selection ผลปรากฏว่าซอฟต์แวร์วิเคราะห์เสียงพูดภาษาไทยสามารถสร้างเสียงที่มีความผิดเพี้ยนต่ำ